Tuesday, May 12, 2009

ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญขาดคุณสมบัติหรือไม่



บทความ เนื้อเรื่อง หรือ คำอธิบาย โดยละเอียด
1. นายชัช ชลวร เป็นประธานศาลรัฐธรรมนูญ
(ชื่อ-นามสกุลเดิม นายวิจิตร งามทวีสุข)
2. นายจรัญ ภักดีธนากุล ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
3. นายจรูญ อินทจาร ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
4. นายเฉลิมพล เอกอุรุ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ (นามสกุล คุ้นๆ ไหม) ลองเช็คชื่อ สส ปชป ดู
5. นายนุรักษ์ มาประณีต ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
6. นายบุญส่ง กุลบุปผา ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
7. นายวสันต์ สร้อยพิสุทธิ์ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
8. นายสุพจน์ ไข่มุกด์ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
9. นายอุดมศักดิ์ นิติมนตรี ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ.

มาตรา ๒๐๗

ประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญต้อง

(๑) ไม่เป็นข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำ

(๒) ไม่เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วน ท้องถิ่น หรือไม่เป็นกรรมการหรือที่ปรึกษาของรัฐวิสาหกิจหรือของหน่วยงานของรัฐ

(๓) ไม่ดำรงตำแหน่งใดในห้างหุ้นส่วน บริษัท หรือองค์การที่ดำเนินธุรกิจโดยมุ่งหา ผลกำไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน หรือเป็นลูกจ้างของบุคคลใด

(๔) ไม่ประกอบวิชาชีพอิสระอื่นใด

ในกรณีที่ที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกาหรือที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูง สุด เลือกบุคคล หรือวุฒิสภาให้ความเห็นชอบบุคคลตาม (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) โดยได้รับความยินยอม ของบุคคลนั้น ผู้ได้รับเลือกจะเริ่มปฏิบัติหน้าที่ได้ต่อเมื่อตนได้ลาออกจากการเป็นบุคคล ตาม (๑) (๒) หรือ (๓) หรือแสดงหลักฐานให้เป็นที่เชื่อได้ว่าตนได้เลิกประกอบวิชาชีพอิสระดังกล่าว แล้ว ซึ่งต้อง กระทำภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับเลือกหรือได้รับความเห็นชอบ แต่ถ้าผู้นั้นมิได้ลาออกหรือ เลิกประกอบวิชาชีพอิสระภายในเวลาที่กำหนด ให้ถือว่าผู้นั้นมิได้เคยรับเลือกหรือได้รับความเห็นชอบ ให้เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๒๐๔ และมาตรา ๒๐๖ แล้วแต่กรณี มาใช้บังคับ

ที่มา : รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐/หมวด ๑๐


มาตรา ๒๐๑

ก่อนเข้ารับหน้าที่ ผู้พิพากษาและตุลาการต้องถวายสัตย์ปฏิญาณ ต่อพระมหากษัตริย์ด้วยถ้อยคำดังต่อไปนี้

“ข้าพระพุทธเจ้า (ชื่อผู้ปฏิญาณ) ขอถวายสัตย์ปฏิญาณว่า ข้าพระพุทธเจ้าจะจงรักภักดี ต่อพระมหากษัตริย์ และจะปฏิบัติหน้าที่ในพระปรมาภิไธยด้วยความซื่อสัตย์สุจริต โดยปราศจากอคติ ทั้งปวง เพื่อให้เกิดความยุติธรรมแก่ประชาชน และความสงบสุขแห่งราชอาณาจักร ทั้งจะรักษาไว้และ ปฏิบัติตามซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทยและกฎหมายทุกประการ”

นายจรัญ ภักดีธนากุล
ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ

เกิดวันที่ : ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๔๙๓ อายุ ๕๘ ปี
ประวัติการศึกษา : - นิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ ๑) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- เนติบัณฑิตไทย สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา
- B.A. (CAMBRIDGE) ประเทศอังกฤษ
- Barrister - at - Law (Grey's Inn) ประเทศอังกฤษ
ประวัติการทำงาน : - ปลัดกระทรวงยุติธรรม วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๙
- เลขาธิการประธานศาลฎีกา วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๔๔
- ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ วันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๔๐
- เลขาธิการส่งเสริมงานตุลาการ วันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๓๕

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุดที่ได้รับ : - มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)

รายชื่ออาจารย์พิเศษ
17. ศ.จรัล ภักดีธนากุล - น.บ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - น.บ.ท. สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา - LL.M. University,Barrister-at–law Gray’s Inn, London. - LL.B. Wales University.
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ (http://law.hcu.ac.th/personal.htm)





วิทยากรพิเศษ
ศ.พิเศษ จรัล ภักดีธนากุล เลขาธิการประธานศาลฎีกา ประเด็นทางสังคมจิตวิทยาในกระบวนการยุติธรรม
กฎหมายอาญา

สถาบันจิตวิทยาฮอทไลน์ (http://www.thaicounsel.com/aboutUs.htm)


อาจารย์พิเศษ
# ศ.(พิเศษ) จรัญ ภักดีธนากุล
# สังกัด : ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
# การศึกษา : น.บ. จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
น.ม.ท. สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา
B.A. Cambridge U.
Barrist er-at-law Grey's Inn.
# วิชาที่สอน : 300 - 306 กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน

คณะ นิติศาสตร์ มหาลัยหาดใหญ่ (http://eportfolio.hu.ac.th/law/index.php?option=com_content&task=category§ionid=9&id=54&Itemid=82)


ศ.(พิเศษ)จรัญ ภักดีธนากุล

ประสบการณ์การสอนและการทำงาน
ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ

ผู้บรรยายวิชา
LAW312 กฎหมายลักษณะพยาน
คณะนิติศาตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต (http://member.rsu-lawonline.com/content.php?ct_id=72)

นอกจากนี้ทางสภามหาวิทยาลัยรังสิต มีมติเป็นเอกฉันท์ อนุมัติปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ แด่บุคคลผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบความสำเร็จในวิชาชีพ และมีประวัติการทำงานที่ส่งเสริมการพัฒนาแก่สังคมทั้งระดับประเทศ และนานาชาติ ในพิธีประสาทปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยรังสิต ประจำปี 2550 ในวันอาทิตย์ที่ 16 ธันวาคม 2550 ณ อาคารนันทนาการ มหาวิทยาลัยรังสิต

กรรมการสภามหาวิทยาลัยรังสิต ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 20 ท่าน ได้แก่ พลอากาศเอกกำธน สินธวานนท์ (นายกสภาฯ) ศาสตราจารย์ ดร.เกษม สุวรรณกุล (อุปนายก) ศาสตราจารย์ ดร.สุรพล นิติไกรพจน์ ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน ศาสตราจารย์ ดร.พรชัย มาตังคสมบัติ ศาสตราจารย์ ดร.ธีระ สูตะบุตร ดร.กำแหง สถิรกุล ดร.อาชว์ เตาลานนท์ นายพิชัย วาศนาส่ง พลเรือตรี นายแพทย์วิทุร แสงสิงแก้ว ศาสตราจารย์ นายแพทย์ประสงค์ ตู้จินดา ดร.วราวรรณ สุวรรณผาติ รองศาสตราจารย์ประกอบ ประพันธ์เนติวุฒิ นายอนุชา โมกขะเวส นางมัณฑนา ศังขะกฤษณ์ ศาสตราจารย์ (พิเศษ) จรัล ภักดีธนากุล ศาสตราจารย์ ดร.ไพรัช ธัชยพงษ์ ดร.ครรชิต มาลัยวงศ์ ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ และนายอานันท์ หาญพาณิชย์พันธ์

โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่านที่ได้รับมอบปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยรังสิต ในปีนี้ ได้แก่
1. นายสนธิ ลิ้มทองกุล ปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาผู้นำทางสังคม ธุรกิจ การเมือง
นายสนธิ ลิ้มทองกุล ในฐานะนักหนังสือพิมพ์ นักเขียน ผู้ก่อตั้ง และเจ้าของหนังสือพิมพ์ในเครือผู้จัดการ ที่ได้รับฉายาจากสื่อต่างประเทศว่า Media Mogul หรือ Media Tycoon นายสนธิ ได้เริ่มจุดเทียนแห่งปัญญา ในฐานะผู้ดำเนินรายการ “เมืองไทยรายสัปดาห์” เปิดฉากกระหน่ำวิจารณ์รัฐบาล โดยการเปิดโปงการุจริตประพฤติมิชอบ ซึ่งในยุคสมัยนี้คงไม่มีสื่อมวลชนคนใด ที่จะสามารถสร้างปรากฎการณ์ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองได้เท่ากับ เขา

ศูนย์ศึกษาวิภาวดี มหาลัยรังสิต (http://www.viphavadeecenter.com/news_detail.php?id=86)


อาจารย์พิเศษ
# ศ.(พิเศษ) จรัญ ภักดีธนากุล
# สังกัด : ปลัดกระทรวงยุติธรรม
# การศึกษา : น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ1)น.ม.ท.
Bachelor of Arts จาก University of Cambridge
# วิชาที่สอน : 0801236 พยาน
คณะนิติศาตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ (http://www.tsu.ac.th/law/lawtsu/person.php?cId=2)

อาจารย์พิเศษ
5 ศาสตราจารย์ (พิเศษ) จรัญ ภักดีธนากุล
เลขาธิการประธานศาลฎีกา
คณะนิติศาตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต (http://www.dpu.ac.th/graduate/llm/page.php?id=2076)

คณะกรรมการวิชาการ คณะนิติศาสตร์

ศาสตราจารย์ จรัญ ภักดีธนากุล

คุณวุฒิ
น.บ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
น.บ.ท. สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา
University of Cambridge, Grey's Inn (Barrister at Law).
เลขานุการประธานศาลฎีกา

คณะนิติศาตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจเกริก (http://)

นายอุดมศักดิ์ นิติมนตรี
ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
กิดวันที่ : ๔ พฤษภาคม ๒๔๙๑ อายุ ๖๐ ปี
ประวัติการศึกษา : - นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- เนติบัณฑิตไทย สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา
ประวัติการทำงาน : - ตุลาการศาลปกครองสูงสุด วันที่ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐
- ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ วันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๔๙
- ผู้พิพากษาศาลฎีกา วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๖
- รองประธานศาลอุทธรณ์ วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๕
- ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลอุทธรณ์ วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๓

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุดที่ได้รับ : - มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)


คณาจารย์พิเศษ
10.
นายอุดมศักดิ์ นิติมนตรี
ศาลฎีกา

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์