จากปี 2549 ที่เราไม่ทราบอะไรเลย ไม่รู้ใครเป็นใคร จนมาถึงวันนี้ ได้รับรู้ข้อมูลข่าวสาร ได้รู้ว่าใครอยู่เบื้องหลัง คนแต่ละกลุ่ม รู้ว่าเหตุการณ์ดำเนินมาถึงทุกวันนี้เพราะอะไร ท้ายที่สุดคน ชนชั้น ไหนได้ประโยชน์ คน ชนชั้น ไหนยังกุมอำนาจไว้ได้ คาดเดาไม่ยากหรอกครับ ว่าอีกไม่นาน .....เพี่ยงแต่.....จะจบอย่างไรนี่สิ.....
Sunday, May 31, 2009
ชมคลิปวิดิโอ พตท.ทักษิณ ชินวัตร + พระสันตปาปา คลิปที่ไม่ค่อยมีคนเห็น สื่อหลักก็ไม่เผยแพร่ ได้ที่
http://www.cbnpress.com/index.php?option=com_hwdvideoshare&task=viewvideo&Itemid=117&video_id=1918
188 วันแล้ว ที่ สส. พรรคประชาธิปัตย์ เป็นแกนนำในการบุกยึดสนามบินสุวรรณภูมิ ยังคงลอยนวล
เป็นคำรับสารภาพ ของนายสมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์ กลางสภา
เป็นการท้าทาย หยามหยันกฏหมายไทย อย่างไม่สะทกสะท้าน
แต่ กระบวนการยุติธรรม ของประเทศไทย ก็ไม่อาจหาญกล้าเอาโทษผิดได้
ประเทศไทย สูญแล้วซึ่ง ความยุติธรรม
เด็กเส้น......ที่ผู้คนเล่า ลือ กันนั้น น่าจะไม่เกินความเป็นจริง
ประชาชน ตกอยู่ใต้อำนาจที่เหนือกฏหมาย ภายใต้เผด็จการ และการกดขี่ทางชนชั้น ?
บาดเจ็บครั้งนี้ ประชาชนจะไม่มีวันลืม
เป็นการท้าทาย หยามหยันกฏหมายไทย อย่างไม่สะทกสะท้าน
แต่ กระบวนการยุติธรรม ของประเทศไทย ก็ไม่อาจหาญกล้าเอาโทษผิดได้
ประเทศไทย สูญแล้วซึ่ง ความยุติธรรม
เด็กเส้น......ที่ผู้คนเล่า ลือ กันนั้น น่าจะไม่เกินความเป็นจริง
ประชาชน ตกอยู่ใต้อำนาจที่เหนือกฏหมาย ภายใต้เผด็จการ และการกดขี่ทางชนชั้น ?
บาดเจ็บครั้งนี้ ประชาชนจะไม่มีวันลืม
ลูกผู้ชายทั้งหลาย .... วันนี้คุณหอมแก้มป๊ะป๋าคุณแล้วหรือยัง ????
6 ปีไม่ได้พบ "ป๋า" ทรมานใจ รักเหมือนพ่อ
"ถ้ากล้าถาม ก็กล้าตอบและยืนยันว่าไม่มีแน่นอนเอ้า...พูดกันตรงๆ เลยว่า แค่หอมแก้ม เพราะมีเคารพรักท่าน ท่านก็เหมือนพ่อผมรักท่านเหมือนพ่อ ท่านเป็นผู้มีพระคุณ"
ความในใจของ "หนุ่มเสก" หรือ "เสกสรร ชัยเจริญ" อดีตนักร้องชื่อดังคนแรกของคีตา เรดคอร์ดสซึ่งเข้าได้เปิดเผยให้ "เรา" ทราบถึงความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ "ป๋า" พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษ
เป็นครั้งแรกที่เขาได้ระบายความในใจต่อสาธารณะชน หลังหลายปีที่ผ่านมา "หนุ่มเสก" กลายเป็นตัวละครสำคัญ ที่ถูกหยิบใช้เป็นเครื่องมือ โจมตีและทำลายความน่าเชื่อถือของ "ป๋า" โดยเฉพาะห้วงเวลาของความขัดแย้งทางสังคม-การเมือง หลังรัฐประหารวันที่ 19 กันยายน 2549 ที่ พล.อ.เปรม ถูกระบุว่าอยู่เบื้องหลังการยึดอำนาจ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี
ความเคารพรักเหมือนพ่อ-ลูก ที่ "หนุ่มเสก" มีให้กับ "ป๋า" ได้ถูกกลุ่มผลประโยชน์บางกลุ่มแปลงนิยามคำว่า "เคารพรักเหมือนพ่อ" ใหม่ เป็นความรักระหว่าง "ฉันและเธอ" หรือ "เด็กป๋า" อันเป็น "ศาสตราวุธ" ทรงแสนยานุภาพ ของกลุ่มที่ผลิต-คิดค้นขึ้นบนฐานของความเกลียดชัง และไม่สนใจข้อเท็จจริงเป็นเช่นใด หวังเพียงแค่ "ล้มป๋า-ทำลายป๋า" เพราะพวกเขาเชื่อว่าเป็นสัญลักษณ์ของ "อำมาตย์"
เรามีโอกาสได้ยืนคุยอย่างเป็นกันเองกับ "หนุ่มเสก" ในฐานะเป็นผู้อำนวยการโรงละครอักษรา ระหว่างที่เขานำคณะหุ่นละครเล็ก อักษรา ภายใต้การดูแลของ บริษัทคิงเพาเวอร์ ไปแสดงในพิธีเปิดโครงการกู้วิกฤติเศรษฐกิจตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่สโมสรทหารบก ถนนวิภาวดีรังสิตเมื่อวันพฤหัสบดีที่ผ่านมา
แม้มีโอกาสคุยกันไม่กี่สิบนาที แต่ทุกประโยคทมุกคำพูดที่ "หนุ่มเสก" เปิดใจให้เราฟังนั้น น่าจะทำให้เกิดความกระจ่างชัด ต่อข้อกล่าวหาความสัมพันธ์ลึกซึ้งแบบ "ฉันรักเธอ" หรือแบบ "เด็กป๋า" ระหว่างเขากับ พล.อ.เปรม ในรอบปลายปีที่ผ่านมา ซึ่ง "หนุ่มเสก" บอกว่า "ยินดีให้เราเผยแพร่ความรู้สึกของเขาต่อสาธารณะได้"
หนุ่มเสกเล่าว่า "ในช่วงที่มีการชุมนุมและมีการโจมตีป๋าอย่างรุนแรง รุมสงสารท่าน ในขณะนั้น รู้สึกว่าไม่เป็นธรรมกับท่าน อยากจะออกมาตอบโต้หรือขึ้นเวทีปกป้องอ เพราะสิ่งที่พูดนั้นไม่เป็นความจริงท่านเป็นปูชนียบุคคลที่ทำประโยชน์ให้บ้านเมืองมาตลอด แต่ไปพูดถึงท่านเสียๆ หายๆแถมไปก้าวล่วงถึงเรื่องส่วนตัว ทั้งที่ไม่เป็นความจริงแม้แต่น้อย"
"แถมยังมีพาดพิงถึงผมด้วย ว่าทำนองว่าไปมีอะไรกับท่าน เป็นเรื่องที่ไม่จริงและน่าเกลียดที่สุด แต่ว่าผู้ใหญ่ที่ผมนับถือห้ามไว้ เพราะเกรงว่าจะกระทบต่อป๋า หากออกไปก็จะยิ่งทำให้กลุ่มที่ชุมนุมนำไปเป็นประเด็นโฟกัส โจมตีถึงท่านอีก ซึ่งมันไม่แฟร์"
เราถามไปว่า ไม่ได้มีอะไรอย่างที่กล่าวหาหรือ "หนุ่มเสก" ตอบตรงไปตรงมาด้วยน้ำเสียงหนักแน่นว่า "ถ้ากล้าถาม ก็กล้าตอบ และยืนยันว่าไม่มีแน่นอน เอ้า...พูดกันตรงๆ เลยว่า แค่หอมแก้ม เพราะผมเคารพรักท่าน ท่านก็เหมือนพ่อ ผมรักท่านเหมือนพ่อ ท่านเป็นผู้มีพระคุณ ส่วนท่านก็คิดว่าผมเป็นลูก ท่านน่ารักมาก ท่านรักผมเหมือนลูกนี่ผมพูดได้เลยนะ ผมไม่เคยพูดที่ไหน เพราะผมอยากให้เลิกพูดกันเสียๆ หายๆ สักที"
"ผมดูได้เต็มปากเลยว่าผมเองก้เป็น "ลูกป๋า" คนหนึ่ง เพราะทำงานใกล้ชิดรับใช้ท่าน ท่านมีความเมตตาสูงให้โอกาสทุกอย่าง เคยกราบเท้าท่านคือผู้มีพระคุณ เปรียบเหมือนพ่อ"
"ผมยืนยัน ไม่เคยขอเงินท่านแต่ท่านเคยให้ เพราะเมตตา แต่เมื่อสิ่งที่ท่านให้โอกาสและเราไม่สามารถทำมันให้ประสบความสำเร็จได้ เราก็รู้สึกละอาย แต่ก็จำคำที่ท่านสั่งสอนตลอดว่า คนเราเมื่อล้มแล้วต้องลุกขึ้นให้ได้ ทุกวันนี้ผมยืนอยู่ได้เพราะกำลังใจและคำสอนของท่าน จึงยืนอยู่ด้วยขาตัวเอง"
อย่างไรก็ตาม กว่า 6 ปีแล้วที่ "หนุ่มเสก" ไม่เคยได้เข้าพบกับ พล.อ.เปรม โดยเจ้าตัวเข้าใจว่ามีบางคนกีดกันไม่ให้เข้าพบเพียงแต่ไม่ได้บอกว่าคนที่กีดกันคือใคร?
"เป็นเวลา 6 ปีแล้วที่ไม่ได้พบ พล.อ.เปรม บุคคลที่มีบุญคุณและเคารพรักที่สุดในชีวิต เพราะถูกคนใกล้ชิดของ พล.อ.เปรมกีดกันโดยไม่ทราบสาเหตุ การพบกันครั้งสุดท้ายก็เมื่อตอนที่ผมดำรงสมณเพศเป็นพระบวชอยู่ที่วัดทุ่งเศรษฐี ย่านบางนา ซึ่งพล.อ.เปรมได้แจ้งให้ไปรับบาตรที่บ้านสี่เสาเทเวศร์ ซึ่งผมก็ถ่ายภาพในควงามทรงจำครั้งนั้นเก็บไว้ จากนั้นผมก็ไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าพบท่านอีกเลย"
"ณ วันนี้ยังคิดถึงตลอดเวลา และรักท่านเสมอ ก็รู้สึกทรมานใจ แต่ไม่มีโอกาสไปพบท่าน เพราะถูกกีดกัน แม้ทุกวันนี้จะไม่ได้พบ แต่ก็ระลึกถึงท่านเสมอ และถ้าชีวิตนี้ยังไม่สิ้น ต้องกลับไปหาท่านให้ได้ กลับไปให้ป๋าได้ภูมิใจ ไม่ได้คิดจะไปรบกวนท่านเลยทุกวันนี้เป็นตนและมาถึงขนาดนี้ได้เพราะกำลังใจจากป๋า"
ปัจจุบัน เขามีความสุขและทุ่มเทกับงานในฐานะเป็นผู้อำนวยการโรงละครอักษรา "จะดูแลคณะหุ่นละครเล็ก ที่สืบทอดศิลปะจากครูสาคร ยังเขียวสด โดย คณะลูกศิษย์ ให้ประสบความสำเร็จให้ได้ถ้ายังล้มเหลว ผมก็คงไม่กล้าไปหาท่าน แต่ถ้าเมื่อวันนั้นมาถึงผมจะไปหาท่านและกราบเท้าท่านอย่างเต็มภาคภูมิ"
ส่วนข่าวลือที่ระบุว่ากำลังมีชื่อเสียงโด่งดังในฐานะผู้ทรงอิทธิพลในแวดวงสถานบันเทิงกลางคืนนั้น เขาบอกว่า "เป็นธรรมดาของคนที่เคยประกอบธูรกิจด้านนี้ เขาต้องพบปะคนมาก และประสานงานในการนำเสนอการแสดง อย่าไปมอง่าเป็นมาเฟียหรือผู้ทรงอิทธิพล"
เมื่อพูดคุยกันจบแล้ว "หนุ่มเสก" ได้ เดินไปส่ง "เจเจ" จุลจิตต์ บุณยเกตุ ในฐานะที่ดำรงตำแหน่ง คณะกรรมการบริหารสถานทีโทรทัศน์กองทัพบก และรองประธานบริหารกลุ่มบริษัทคิงเพาเวอร์ ที่เขาบอกว่า "เป็นนายที่มีพระคุณ"
นี่อาจจะเป็นเพราะอัธยาศัย มนุษยสัมพันธ์ที่ดี ช่างพูด ประกอบกับใบหน้าที่ยิ้มแย้มสดใส ของ "หนุ่มเสก" แม้จะอายุเลยวัย "ทีนเอจ" มาแล้ว แต่ด้วยเอกลักษณ์เก่าผสมลุคส์ใหม่ จนกลายเป็น "หนุ่มเสก สกินเฮด" ล้วนแต่เป็นลักษณะที่ทำให้ "ผู้ใหญ่" ไม่ว่าอาชีพใด วัยใด ต่างก็เอ็นดูเป็นธรรมดา
ที่มา: หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์
มาดูคลิปนี้ ว่ามาร์ค ได้พูดหรือไม่ ที่ว่า เดือนมิถุนาจะมีคนออกมาเผาบ้านเผาเมือง
http://www.cbnpress.com/index.php/component/hwdvideoshare/?task=viewvideo&video_id=1950
คณิน "ฟันธง" อำมาตยาธิปไตย...ล่มสลายแน่ไม่ช้าไม่นานนี้
เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม ที่โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ สถาบันศึกษาการพัฒนา
ประชาธิปไตย จัดการอภิปรายเนื่องในโอกาสครบ 2 ปียุบพรรคไทยรักไทย ใน
หัวข้อ "พรรคการเมืองไทยสิ่งจำเป็นหรือส่วนเกินในระบอบประชาธิปไตย"
นายคณินกล่าวว่า ทุกวันนี้การเมืองล่มสลายท่ามกลางความแข็งแกร่งของระบบ
ตุลาการ ส่วนลมหายใจของชาวรากหญ้านั้นคือประชาธิปไตย
ดังนั้น ประชาชนจะต้องสู้เพื่อระบอบประชาธิปไตย อีกไม่ช้าระบอบอำมาตยา
ธิปไตยจะสลายไป สังเกตได้จากความกระเสือกกระสนของกลุ่มคนบางกลุ่มที่จะให้
ระบอบดังกล่าวคง อยู่ต่อไป ดังนั้น ประชาชนอย่าเพิ่งท้อถอย (ที่มา มติชน)
*************************************
คณิน บุญสุวรรณ ที่แต่ก่อนเป็นไม้เบื่อไม้เมากับระบอบทักษิณ
มาวันนี้ เริ่มกระจ่างแจ้งแล้วว่า "อะไรเป็นอะไร" เหตุใดยังมีพวก หูตามืดบอด
ไม่เข้าใจว่าเกิดอะไรขึ้นกับบ้านกับเมือง งมงายกับสิ่งไร้สาระ เพ้อเจ้อกับการเมืองใหม่เก่าอีกหรือ
ประชาธิปไตย จัดการอภิปรายเนื่องในโอกาสครบ 2 ปียุบพรรคไทยรักไทย ใน
หัวข้อ "พรรคการเมืองไทยสิ่งจำเป็นหรือส่วนเกินในระบอบประชาธิปไตย"
นายคณินกล่าวว่า ทุกวันนี้การเมืองล่มสลายท่ามกลางความแข็งแกร่งของระบบ
ตุลาการ ส่วนลมหายใจของชาวรากหญ้านั้นคือประชาธิปไตย
ดังนั้น ประชาชนจะต้องสู้เพื่อระบอบประชาธิปไตย อีกไม่ช้าระบอบอำมาตยา
ธิปไตยจะสลายไป สังเกตได้จากความกระเสือกกระสนของกลุ่มคนบางกลุ่มที่จะให้
ระบอบดังกล่าวคง อยู่ต่อไป ดังนั้น ประชาชนอย่าเพิ่งท้อถอย (ที่มา มติชน)
*************************************
คณิน บุญสุวรรณ ที่แต่ก่อนเป็นไม้เบื่อไม้เมากับระบอบทักษิณ
มาวันนี้ เริ่มกระจ่างแจ้งแล้วว่า "อะไรเป็นอะไร" เหตุใดยังมีพวก หูตามืดบอด
ไม่เข้าใจว่าเกิดอะไรขึ้นกับบ้านกับเมือง งมงายกับสิ่งไร้สาระ เพ้อเจ้อกับการเมืองใหม่เก่าอีกหรือ
Saturday, May 30, 2009
วันกลับของทักษิณ ความจริงเป็นสิ่งไม่ตาย....คนดีตกน้ำไม่ไหลตกไฟไม่ไหม้...ศัตรูจะกลับเป็นมิตร มิตรจะเป็นมหามิตร...ประชาชนทั้งประเทศไม่ได้ตาบอด.
ก็สร้างเรื่องสร้างข่าวกันขึ้นมาเรื่อยๆ เรื่องจะเอาตัว พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรีกลับมาติดคุกในเมืองไทยก็โกหกคนไทยกันไปวันๆ..เบิกงบประมาณกันไปใช้จ่าย..ไล่ล่าจะเอากลับมารับโทษทั้งๆ ที่รู้แน่แก่ใจว่า..จะไม่มีวันสำเร็จ..และมันเป็นไปไม่ได้เพราะ..ความผิดของอดีตนายกรัฐมนตรีนั้น..มันเกิดขึ้นหลังจากโดนปฏิวัติรัฐประหารโดยกำลังกองทัพ..อำนาจที่เกิดจากการปฏิวัติยึดอำนาจนั้น..มันมีอยู่ในประเทศไทย แต่มันไม่ถูกยอมรับในสากลโลกและข้อหาที่ตั้งโดยรัฐบาลปฏิวัตินั้น..มันไม่เป็นสากลในโลกแถมยังเป็นคำพิพากษาโดยศาลเดียวเข้าไปด้วยการยอมรับจากประชาคมโลกก็ยิ่งน้อยลงไปอีก..ในวันนี้..ก็ยังมีคนไทยหลบหนีคดีอยู่ในโลกมากมาย..ทั้งที่เปิดเผยและไม่เปิดเผย..ความผิดที่ถูกกล่าวหาก็เป็นเรื่องอาชญากรรมธรรมดาพิพากษาโดยศาลสถิตยุติธรรมตามกระบวนการอันเป็นสากลวันนี้ก็ยังเอาตัวพวกเขามาลงโทษไม่ได้อีกทั้ง..ความผิดที่นำไปกล่าวโทษนั้น..ต้องเป็นความผิดที่พวกเขายอมรับหรือ
เป็นความผิดในบ้านเขาเมืองเขา เช่น ค้ายา ฆ่าคนตาย หรือจี้ปล้นหากจะได้ ทักษิณ ชินวัตร กลับมานั้น..มันต้องใช้วิธีที่เป็นการกระทำอาชญากรรม..เช่นแบบที่ประเทศอิสราเอลกระทำต่อนักโทษสงครามชาวเยอรมัน ที่ต้องคำพิพากษาของศาลสงคราม..ยิวส่งกองกำลังไปอุ้มตัวเข้ามารับโทษแล้วใครหน้าไหนจะกล้า..เพราะแต่ละประเทศที่อดีตนายกรัฐมนตรีเข้าไปอยู่อาศัย..ประเทศของเขาก็ดูแลรักษาความปลอดภัยให้อย่างเต็มที่โป๊ปสังฆราชแห่งคริสต์ศาสนา..ยังให้เข้าเฝ้า..นั่นแปลว่า..เขาไม่รับสภาพนักโทษหนีคดีที่ประเทศไทยกล่าวหา..ทักษิณ ชินวัตร..ยังมีโอกาสที่จะลี้ภัยการเมืองและใช้พาสปอร์ตของยูเอ็นได้หากเขาต้องการ..เพียงแต่การใช้พาสปอร์ตยูเอ็นนั้น..คงเป็นทางเลือกสุดท้ายรัฐบาลไทยปัจจุบัน..ต้องเลิกโกหกกับประชาชนเสียที..แล้วก้มหน้าก้มตาบริหารราชการแผ่นดินต่อไปหากรัฐบาลแก้ปัญหาเศรษฐกิจไม่ได้..ประเทศไทยไปไม่ไหว..เลือกตั้งใหญ่ข้างหน้า..พรรคของเขาจะเป็นผู้ชนะ และประชาชนจะเรียกร้องให้เขากลับมาบริหารก็ประชาชน..เป็นเจ้าของประเทศไม่ใช่หรือ
พญาไม้ทูเดย์ พญาไม้
เป็นความผิดในบ้านเขาเมืองเขา เช่น ค้ายา ฆ่าคนตาย หรือจี้ปล้นหากจะได้ ทักษิณ ชินวัตร กลับมานั้น..มันต้องใช้วิธีที่เป็นการกระทำอาชญากรรม..เช่นแบบที่ประเทศอิสราเอลกระทำต่อนักโทษสงครามชาวเยอรมัน ที่ต้องคำพิพากษาของศาลสงคราม..ยิวส่งกองกำลังไปอุ้มตัวเข้ามารับโทษแล้วใครหน้าไหนจะกล้า..เพราะแต่ละประเทศที่อดีตนายกรัฐมนตรีเข้าไปอยู่อาศัย..ประเทศของเขาก็ดูแลรักษาความปลอดภัยให้อย่างเต็มที่โป๊ปสังฆราชแห่งคริสต์ศาสนา..ยังให้เข้าเฝ้า..นั่นแปลว่า..เขาไม่รับสภาพนักโทษหนีคดีที่ประเทศไทยกล่าวหา..ทักษิณ ชินวัตร..ยังมีโอกาสที่จะลี้ภัยการเมืองและใช้พาสปอร์ตของยูเอ็นได้หากเขาต้องการ..เพียงแต่การใช้พาสปอร์ตยูเอ็นนั้น..คงเป็นทางเลือกสุดท้ายรัฐบาลไทยปัจจุบัน..ต้องเลิกโกหกกับประชาชนเสียที..แล้วก้มหน้าก้มตาบริหารราชการแผ่นดินต่อไปหากรัฐบาลแก้ปัญหาเศรษฐกิจไม่ได้..ประเทศไทยไปไม่ไหว..เลือกตั้งใหญ่ข้างหน้า..พรรคของเขาจะเป็นผู้ชนะ และประชาชนจะเรียกร้องให้เขากลับมาบริหารก็ประชาชน..เป็นเจ้าของประเทศไม่ใช่หรือ
พญาไม้ทูเดย์ พญาไม้
สภาพปัจจุบัน เปรียบเทียบกัน ระหว่างอภิสิทธิ์ กับทักษิณ
คิดถึงสภาพปัจจุบันนะครับ ไม่ย้อนหลังหรือเดินหน้า
1.วิกฤตความแตกแยกภายในประเทศ
2.วิกฤตเศรษฐกิจที่ไม่สามารถกำหนดเองได้
3.เป็นรัฐบาลผสมที่ต้องขบเหลี่ยมทางการเมือง
4.ห่วงหน้าพะวงหลังในการบริหารประเทศกับบริหารรัฐบาล
5.หลายก๊กหลายเหล่าล้วนแต่จ้องงาบ
อภิสิทธิ์บริหารอยู่ขณะนี้ บนเส้นด้าย ท่านที่คิดว่าทักษิณเป็นสุดยอดนักบริหาร ถ้าเทียบกับอภิสิทธิ์ในสถานการณ์เดียวกัน คุณว่าทักษิณ กับอภิสิทธิ์ ใครทำได้ดีกว่ากัน
"อภิสิทธิ์" บริหารงาน แบบมี "เจ้าบุญทุ่ม" / "ป๋าดัน" / "กองหลัง" / "งูเห่า"
คอยทวงบุญคุณมากมาย ไม่เป็นตัวของตัวเอง
นโยบายต่างๆ แม้อยากจะทำ ก็ทำไม่ได้ เข้าทำนอง"หยิกเล็บเจ็บเนื้อ"
อ่อนด้อยประสบการณ์ และ ไม่ยอมรับสภาพความเป็นจริง สร้างภาพไปวันๆ
จุดแข็งปั๊ก คือ มาตรฐานที่ 2 ไง คุ้มหัวอยู่ ... ฯลฯ
"ทักษิณ" บริหารงาน แบบ"ประมาท" และ "ความกล้าได้กล้าเสียแบบพ่อค้า" - "ดาบสองคม" คนรอบตัว มาเกาะเยอะ (คนชั่วก็เยอะ)
แต่จุดแข็ง คือ มี "เงิน" + "สมอง" + "เครดิต(ส่วนตัว)" ที่สูงมาก
ยืนได้ด้วยลำแข้งของตน และให้คนอื่นอาศัยใบบุญได้ เห็นผลงาน ทำงานเร็ว
ทักษิณ ทำได้ดีกว่าแน่นอน
1 มีผลงานจากการบริหารบริษัทเอกชน จนร่ำรวยเป็นมหาเศรษฐีติดอับดับโลก
2 เป็นผู้นำคุมพนักงานมากมาย ทำให้กิจการเจริญนำหน้าบริษัทอื่น
3 เป็นรัฐบาลพรรคเดียวที่ ที่ผู้นำสามารถคุมเกมส์ได้
4 มีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล
5 มีแนวคิดที่นำหน้าบุคคลอื่น
6 เป็นต่อในการที่แสดงผลงานให้ประจักษ์ จากการเป็นนายกที่ผ่านมา สามารถนำพาประเทศให้หลุดพ้นจากการเป็นหนี้ IMF
7 ทำให้ประเทศไทย มีชื่อเสียง และพลิกกลับ จากผู้กู้ เป็นผู้ให้กู้
8 มีเพื่อน เป็นนักธุรกิจ ทั้งในและต่างประเทศ
9 เป็นผู้คิดโครงการต่างๆ มากมาย และได้ผล
10 มีภาวะผู้นำ
เอาแค่ 10 ข้อ พอ
สำหรับ อภิสิทธิ์ สู้ไม่ได้เพราะ
1 ไม่มีผลงานเป็นที่เด่นชัดว่า เคยบริหารบริษัทจนรุ่งเรือง
2 ไม่มีผลงานด้านการบริหารประเทศ
3 เป็นแค่นักเรียนที่จบนอก อยากลองวิชา
4 ใช้ความเชื่อมั่นและมั่นใจตนเองเกินไปว่าตนเองทำได้
5 เป็นรัฐบาลหลายพรรค หลายแนวคิด
6 คุมเกมส์รัฐบาลไม่ได้ ปล่อยให้พรรคร่วมเป็นต่อ
7 วิสัยทัศน์แคบ
8 ไม่เป็นที่ประจักษ์ว่ามีเพื่อนเป็นนักธุรกิจ ทั้งในและนอก
9 ทำให้ประเทศไทย พลิกกลับจากการที่มีหนี้น้อยกลายเป็นประเทศที่มีหนี้มาก
10 ไม่สามารถหาทางออกให้ประเทศโดยวิธีอื่น นอกจากกู้เงินมาบริหาร
11 มีความกระสันอยากเป็นรัฐบาลจนเกินไป
12 ใช้วิธีหาเงินโดยขึ้นภาษีทุกอย่าง
13 การเป็นนายก ได้มาจากการต่อรองของพรรคร่วม
14 โครงการส่วนมากไม่ได้คิดเอง นำโครงการที่ทำมาก่อน มาปรับปรุงแก้ไข
15 กู้เงินมาแจกประชาชนอย่างไม่เคยมีมาก่อน
16 ขาดภาวะผู้นำ
"ธุรกิจการเมือง" หมัดเหล็ก...ไทยรัฐ..วันนี้
ผลพวงจาก รัฐบาลมือใหม่หัดขับ เริ่มจะพ่นพิษ เพราะรัฐบาลชุดนี้ออกอาการ เด็กเล่นขายของ จนนักธุรกิจ นักวิชาการ เจ้าสัว รวมทั้งชาวบ้านตาดำๆ ทนไม่ไหว บ่นกันกระจองอแงไปหมด สรุปได้ว่า 5 เดือนที่ผ่านมา รัฐบาลภายใต้การนำของ นายกฯ อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ รูปหล่ออย่างเดียว ต้องยืมคำพูดเจ้าสัวมาย้ำว่า รัฐบาลกำลังทำให้เศรษฐกิจประเทศตกต่ำสุดๆ ตีลังกา
ดิ่งลงเหว
การแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลหรือมาตรการแต่ละอย่างที่ออกมา ล้วนแต่มีวาระแอบแฝงต่างตอบแทนทั้งนั้น ยกตัวอย่าง ไม่ว่าจะเป็น ธุรกิจน้ำเมา หรือธุรกิจการสื่อสาร เจ้าของธุรกิจต้องออกมาโวย แล้วใครได้ประโยชน์ ก็พรรครัฐบาลนักการเมืองในรัฐบาลได้ประโยชน์ไปเต็มๆ
เช่นกัน พฤติกรรมถาวรของนักการเมืองก็ไม่เปลี่ยน ไม่ว่าจะอยู่ข้างไหนฝ่ายไหนก็ไม่เปลี่ยน รถเมล์เช่า 4 พันคัน กระเหี้ยน กระหือรือเอากันให้ได้ ได้ถนนปลอดฝุ่นไปแล้วยังไม่พอ ลับลม คมในมีอะไรกันอยู่ คนในรัฐบาลก็รู้เห็นกันทนโท่ โดยเฉพาะพรรคประชาธิปัตย์ ที่ค้านหัวชนฝามาตั้งแต่ไหนแต่ไรแล้ว ถ้างานนี้ปล่อยให้ผ่าน ครม.ไปได้ ไม่เฉพาะนายกฯอภิสิทธิ์เท่านั้น แต่คนในรัฐบาล ส.ส.พรรคประชาธิปัตย์
ต้องเอาปี๊บคลุมหัวทุกคน
โง่ จน เจ็บ เป็นคอนเซปต์ของ เกษตรกรไทย รัฐบาลทำเหมือนผู้อารี รับจำนำเอย ให้กู้ยืมเอย กระทรวงพาณิชย์เจ้ากี้เจ้าการให้หมดทุกอย่าง เปลี่ยนมากี่รัฐบาล เปลี่ยน รมว.พาณิชย์มาตั้งกี่คนแล้ว เกษตรกรกลับยิ่งเป็นหนี้เป็นสินท่วมหัว คนที่รวยคือพ่อค้าคนกลาง และนักการเมืองเท่านั้น
การประมูลขายข้าวโพด ไปจนถึงการประมูลขายข้าวและพืชผล การเกษตรอื่นๆ คุณพรทิวา นาคาศัย รมว.พาณิชย์ ถูกเบรกในที่ประชุม ครม. จะเป็นเกมการเมืองหรือจะเป็นการแสดงละครอะไรกันก็เป็นอีกเรื่อง แต่ได้ชี้ให้เห็นถึงการทุจริตเชิงนโยบายที่ชัดเจน มีอย่างที่ไหน
รัฐบาลรับจำนำพืชผลการเกษตรมาเพื่อรอขายขาดทุน แล้วจะไปรับจำนำมาทำสากกะเบือทำไม เอาเงินไปชดเชยให้เกษตรกรเลยหมดเรื่อง
ทำท่ายึกๆยักๆ ประเด็นที่นายกฯ อภิสิทธิ์โยนเรื่องนี้ไปให้รองนายกฯ ฝ่ายความมั่นคง คุณสุเทพ เทือกสุบรรณ เป็นกรรมการ หรือเห็นว่าคุณสุเทพสนิทกับคุณเนวิน ชิดชอบ เป็นเหตุเป็นผลแค่ไหนลองไปเกาสะดือนั่งคิดเอาเอง ส่วนคุณกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ รองนายกฯ ฝ่ายเศรษฐกิจ ที่ดูแลโดยตรงถูกเขี่ยพ้นทาง
นายกฯอภิสิทธิ์คิดอย่างไรเมื่อนั่งค้านใน ครม.ด้วย
พยายามหามาตรฐานและผลงานของรัฐบาลชุดนี้ซักเรื่อง แต่ยังมองไม่เห็น กระตุ้นเศรษฐกิจ เช็คช่วยชาติ ต้นกล้าอาชีพ ล้มเหลว ตำน้ำพริกละลายแม่น้ำ ล้วนแต่ผิดหวังทั้งที่อยากเชียร์ใจจะขาด แต่ถ้าเรื่องที่จะต้องวิจารณ์ แตะไปตรงไหนเป็นงานเข้า มหัศจรรย์ตรงที่ว่ารัฐบาลอภิสิทธิ์ยังสามารถลอยตัวอยู่ได้
หรือเพราะความน่ารักน่าเอ็นดูแฮะ.
หมัดเหล็ก
http://www.thairath.co.th/content/pol/9034
ทำดีได้ดีมีที่ไหน...หมัดเหล็ก...ไทยรัฐ
ตื่นเต้นกับข่าวการตกลูกอย่างมหัศจรรย์ของ หมีแพนด้า ช่วงช่วงและหลินฮุ่ย ที่สวนสัตว์เชียงใหม่ มีคนหน้าบานกับงานนี้หลายคน ให้นึกถึง พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ อดีตนายกฯ ถ้าไม่ได้ พล.อ.ชวลิต ที่ซี้ปึ้กกับจีนก็คงไม่มีวันนี้ ถือว่าเป็นนายกฯที่มีผลงานฝากไว้ให้กับคนรุ่นหลังอีกท่านหนึ่ง
แต่วันนี้ พล.อ.ชวลิตเป็นอย่างไร ช้ำชอกขนาดไหน ถูก
เสียดสี โขกสับจากสังคมอย่างไร เทียบไม่ได้กับนายกฯ หรืออดีตนายกฯบางท่านที่ไม่เคยปรากฏผลงานให้ได้ชื่นชม โชว์แต่
รูปลักษณ์ ส่วนตัว แล้วก็ถูกยกย่องว่าเป็นคนดีศรีสังคมไปฉิบ
ต่อไปนี้ใครอยากจะเป็น ผู้ปิดทองหลังพระ ให้เมื่อยตุ้ม โกยได้ก็โกย ฉวยได้ก็ฉวยเอาไว้ก่อน เพราะการวัดค่าของคนดีไม่ได้อยู่ที่ผลงาน แต่อยู่ที่การสร้างภาพมากกว่า
ได้ทั้งเงินได้ทั้งกล่อง
วันนี้จะมาคิดถึง พล.อ.ชวลิตอีกแล้ว อยากให้ไปช่วย เจรจากับจีนเพื่อให้ต่อเวลาสำหรับลูกของหลินฮุ่ยออกไปมากกว่า 2 ปี ที่กำหนดเป็นเงื่อนไขเอาไว้แล้ว ผมก็ต้องดักคอไว้ล่วงหน้าว่า รัฐบาลคงไม่แฮปปี้ ถ้าจะให้ พล.อ.ชวลิตมามีบทบาทในเรื่องนี้
พรรคร่วมรัฐบาลเอง กำลัง มะรุมมะตุ้มกับผลประโยชน์ ถ้ารถเมล์ 4 พันคันไม่ได้ ขายข้าวโพด ขายข้าวไม่ได้ เรื่องการจัดสรรที่ดินในโครงการ สปก.ของ รมต.พรรคประชาธิปัตย์ก็ต้องไม่ได้ ผมว่านายกฯอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ คงกลืนไม่เข้าคายไม่ออก ถ้าจะต้องตระบัดสัตย์
40 ส.ว.เอาปูนหมายหัวไว้แล้ว โครงการรถเมล์ไม่ล้ม รัฐบาลก็ต้องล้ม จะยื่นถอดถอนกันทั้งคณะ ความไม่ชอบมาพากลของโครงการนี้ไม่ใช่มีแค่การเช่ารถแค่ 4 พันคันเท่านั้น ยังมีหมกเม็ด ไว้อีกเยอะ ค่าเหมาซ่อม ค่าอู่รถ สถานที่จอดพักรถ ไหนจะแก๊สอีก
บานตะไท
จะถอนทุน จะต่อรอง หรือจะต่างตอบแทน เข้าข่ายทั้งหมด นี่คือความล้มเหลวทางการเมืองโดยมีผลพวงมาจากการยึดอำนาจเมื่อ 19 กันยายน ที่ชัดเจนอีกกรณีหนึ่ง
การเมืองถอยหลังลงคลอง
ที่เราต้องสูญเสียโอกาสไปทั้งหมด ที่เราต้องเอาอนาคตประเทศไปเป็นเดิมพัน คุ้มหรือไม่ ด่า พ.ต.ท.ทักษิณปาวๆ ทุจริตคอรัปชัน โกงกิน อย่างน้อยก็ยังทิ้งอนุสรณ์ไว้ให้กับคนรากหญ้ามากมาย แต่ที่ส่อทุจริตอยู่ตอนนี้มีอะไรไว้เป็นอนุสรณ์บ้าง
นอกจากความมืดมนของอนาคต
เห็นภาพออง ซาน ซูจี เห็นภาพรัฐบาลทหารพม่า เห็นอนาคตของประชาชนชาวพม่า ก็อดเหลียวมองตัวเองไม่ได้ ไม่น่าเชื่อว่าจะกลับมาด้อยพัฒนาได้ใกล้เคียงกัน.
"หมัดเหล็ก"
http://www.thairath.co.th/content/pol/9391
แต่วันนี้ พล.อ.ชวลิตเป็นอย่างไร ช้ำชอกขนาดไหน ถูก
เสียดสี โขกสับจากสังคมอย่างไร เทียบไม่ได้กับนายกฯ หรืออดีตนายกฯบางท่านที่ไม่เคยปรากฏผลงานให้ได้ชื่นชม โชว์แต่
รูปลักษณ์ ส่วนตัว แล้วก็ถูกยกย่องว่าเป็นคนดีศรีสังคมไปฉิบ
ต่อไปนี้ใครอยากจะเป็น ผู้ปิดทองหลังพระ ให้เมื่อยตุ้ม โกยได้ก็โกย ฉวยได้ก็ฉวยเอาไว้ก่อน เพราะการวัดค่าของคนดีไม่ได้อยู่ที่ผลงาน แต่อยู่ที่การสร้างภาพมากกว่า
ได้ทั้งเงินได้ทั้งกล่อง
วันนี้จะมาคิดถึง พล.อ.ชวลิตอีกแล้ว อยากให้ไปช่วย เจรจากับจีนเพื่อให้ต่อเวลาสำหรับลูกของหลินฮุ่ยออกไปมากกว่า 2 ปี ที่กำหนดเป็นเงื่อนไขเอาไว้แล้ว ผมก็ต้องดักคอไว้ล่วงหน้าว่า รัฐบาลคงไม่แฮปปี้ ถ้าจะให้ พล.อ.ชวลิตมามีบทบาทในเรื่องนี้
พรรคร่วมรัฐบาลเอง กำลัง มะรุมมะตุ้มกับผลประโยชน์ ถ้ารถเมล์ 4 พันคันไม่ได้ ขายข้าวโพด ขายข้าวไม่ได้ เรื่องการจัดสรรที่ดินในโครงการ สปก.ของ รมต.พรรคประชาธิปัตย์ก็ต้องไม่ได้ ผมว่านายกฯอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ คงกลืนไม่เข้าคายไม่ออก ถ้าจะต้องตระบัดสัตย์
40 ส.ว.เอาปูนหมายหัวไว้แล้ว โครงการรถเมล์ไม่ล้ม รัฐบาลก็ต้องล้ม จะยื่นถอดถอนกันทั้งคณะ ความไม่ชอบมาพากลของโครงการนี้ไม่ใช่มีแค่การเช่ารถแค่ 4 พันคันเท่านั้น ยังมีหมกเม็ด ไว้อีกเยอะ ค่าเหมาซ่อม ค่าอู่รถ สถานที่จอดพักรถ ไหนจะแก๊สอีก
บานตะไท
จะถอนทุน จะต่อรอง หรือจะต่างตอบแทน เข้าข่ายทั้งหมด นี่คือความล้มเหลวทางการเมืองโดยมีผลพวงมาจากการยึดอำนาจเมื่อ 19 กันยายน ที่ชัดเจนอีกกรณีหนึ่ง
การเมืองถอยหลังลงคลอง
ที่เราต้องสูญเสียโอกาสไปทั้งหมด ที่เราต้องเอาอนาคตประเทศไปเป็นเดิมพัน คุ้มหรือไม่ ด่า พ.ต.ท.ทักษิณปาวๆ ทุจริตคอรัปชัน โกงกิน อย่างน้อยก็ยังทิ้งอนุสรณ์ไว้ให้กับคนรากหญ้ามากมาย แต่ที่ส่อทุจริตอยู่ตอนนี้มีอะไรไว้เป็นอนุสรณ์บ้าง
นอกจากความมืดมนของอนาคต
เห็นภาพออง ซาน ซูจี เห็นภาพรัฐบาลทหารพม่า เห็นอนาคตของประชาชนชาวพม่า ก็อดเหลียวมองตัวเองไม่ได้ ไม่น่าเชื่อว่าจะกลับมาด้อยพัฒนาได้ใกล้เคียงกัน.
"หมัดเหล็ก"
http://www.thairath.co.th/content/pol/9391
“ประสงค์ เลิศรัตนวิสุทธิ์” นายกสมาคมนักข่าวฯ ออกมาโวย จะเอากันยังไงถ้าไม่มีโฆษณารัฐ นสพ.เจ๊ง-นักข่าวตกงานแน่
เปิดสถิติ “มติชนรายวัน” ฟาดโฆษณาจากหน่วยงานภาครัฐทะลุ 60 ชิ้น/สัปดาห์ บ่งชี้ต้นเหตุ “ประสงค์ เลิศรัตนวิสุทธิ์” นายกสมาคมนักข่าวฯ ออกมาโวย จะเอากันยังไงถ้าไม่มีโฆษณารัฐ นสพ.เจ๊ง-นักข่าวตกงานแน่ สื่ออาวุโสระบุ “โฆษณารัฐ” เยอะไม่เป็นไรแต่อย่ามีพฤติกรรมเลียนักการเมือง ให้เงินใต้โต๊ะ หรือทอนเงิน ขรก.-นักการเมือง ชี้แม้แต่เอากระเช้าไปให้นักการเมืองเมื่อได้ตำแหน่งก็ไม่เหมาะสม
เมื่อผู้สื่อข่าวตรวจสอบจำนวนโฆษณาภาครัฐของ นสพ.มติชนรายวัน ในรอบ 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา คือ ตั้งแต่ วันเสาร์ที่ 23 พ.ค. ถึงวันศุกร์ 29 พ.ค.52 ก็พบว่ามีหน่วยงานภาครัฐ หรือ หน่วยงานที่กำกับดูแลโดยภาครัฐ ลงโฆษณาในหนังสือพิมพ์ฉบับดังกล่าวมากถึง 63 ชิ้น โดย ไม่นับรวมถึงโฆษณาสถาบันการศึกษาของรัฐ โฆษณาของหน่วยงานรัฐวิสาหกิจที่แสวงหากำไร อีกทั้ง ไม่รวมโฆษณาในส่วนโฆษณาย่อย (Classified) และโฆษณาฉบับพิเศษ (Supplement) อื่นๆ
นอกจากนี้ยังมีข้อสังเกตด้วยว่า โฆษณาภาครัฐที่ลงใน นสพ.มติชนรายวัน จะกระจุกตัวอยู่ในช่วงวันทำการของราชการ คือ วันจันทร์ถึงวันศุกร์ โดยคิดเป็นสัดส่วนมากถึงประมาณร้อยละ 50 ของโฆษณาทั้งหมดที่ลงในหนังสือพิมพ์แต่ละวัน สำหรับรายละเอียดของโฆษณาในแต่ละวันมีดังนี้
วันเสาร์ที่ 23 พฤษภาคม 2552 มีโฆษณาของหน่วยงานภาครัฐ 2 ชิ้น จาก
1.กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงมหาดไทย
2.สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม
วันอาทิตย์ที่ 24 พฤษภาคม 2552 มีโฆษณาของหน่วยงานภาครัฐ 1 ชิ้น จาก
1.สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม
วันจันทร์ที่ 25 พฤษภาคม 2552 มีโฆษณาของหน่วยงานภาครัฐ 12 ชิ้น จาก
1.กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
2.กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) กระทรวงศึกษาธิการ
3.กรมการปกครอง
4.ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.)
5.สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.)
6.การเคหะแห่งชาติ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
7.กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
8.สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
9.กรมสรรพากร กระทรวงการคลัง
10.สำนักงานคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย
11.สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม
12.กรมพัฒนาพลังงานทดแทน กระทรวงพลังงาน
วันอังคารที่ 26 พฤษภาคม 2552 มีโฆษณาของหน่วยงานภาครัฐ 9 ชิ้น จาก
1.สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ และกระทรวงอุตสาหกรรม
2.สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (กปร.) สำนักนายกรัฐมนตรี
3.กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
4.สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม
5.สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกร (คปก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
6.สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.)
7.สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
8.กรมประชาสัมพันธ์
9.สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ
วันพุธที่ 27 พฤษภาคม 2552 มีโฆษณาของหน่วยงานภาครัฐ 14 ชิ้น จาก
1.องค์การเภสัชกรรม กระทรวงสาธารณสุข
2.กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย
3.การรถไฟแห่งประเทศไทย (ร.ฟ.ท.)
4.กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
5.สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน
6.กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
7.การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.)
8.กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน
9.สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน
10.สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
11.สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม
12.กระทรวงสาธารณสุข
13.สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) กระทรวงศึกษาธิการ
14.กรมประชาสัมพันธ์
วันพฤหัสบดีที่ 28 พฤษภาคม 2552 มีโฆษณาของหน่วยงานภาครัฐ 15 ชิ้น จาก
1.องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน สำนักนายกรัฐมนตรี
2.สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) สำนักนายกรัฐมนตรี
3.กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
4.บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย (บสท.) กระทรวงการคลัง
5.สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) กระทรวงการคลัง
6.กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.)
7.สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
8.สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.คุรุสภา กระทรวงศึกษาธิการ
10.กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
11.สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย กระทรวงอุตสาหกรรม
12.สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม
13.สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.)
14.กรมประชาสัมพันธ์
15.กรมประชาสัมพันธ์
วันศุกร์ที่ 29 พฤษภาคม 2552 มีโฆษณาของหน่วยงานภาครัฐ 10 ชิ้น จาก
1.กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน (กอ.รมน.) สำนักนายกรัฐมนตรี
2.การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.)
3.สำนักงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) กระทรวงศึกษาธิการ
4.สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม
5.กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์
6.สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (กปร.) สำนักนายกรัฐมนตรี
7.สำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
8.สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (กช.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.กรมประชาสัมพันธ์
10.สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กระทรวงสาธารณสุข
ทั้งนี้ เมื่อเปรียบเทียบจำนวนโฆษณาจากหน่วยงานภาครัฐของหนังสือพิมพ์มติชนรายวัน กับหนังสือพิมพ์ประเภทเดียวกัน หรือใกล้เคียงกัน อย่างเช่น สยามรัฐ คมชัดลึก เดลินิวส์ ไทยรัฐ แล้วก็จะเห็นได้ชัดว่ามีจำนวนแตกต่างกันอย่างชัดเจน
ด้านบรรณาธิการหนังสือพิมพ์อาวุโสท่านหนึ่งให้สัมภาษณ์ว่า การที่หนังสือพิมพ์ฉบับใดฉบับหนึ่งจะได้รับโฆษณาจากหน่วยงานภาครัฐมากเป็นพิเศษนั้นถือเป็นเรื่องปกติ เพราะหนังสือพิมพ์ฉบับนั้นอาจะได้รับความนิยมสูงและอาจมีอัตราค่าโฆษณาถูกก็เป็นได้ อย่างไรก็ตามจะถือว่าเป็นเรื่องไม่ถูกต้องและผิดจรรยาบรรณอย่างร้ายแรงหากหนังสือพิมพ์ฉบับใดมีพฤติกรรมการอิงแอบหรือเอาอกเอาใจนักการเมืองที่มีอำนาจ และยิ่งร้ายแรงกว่านั้น หากสื่อใดมีพฤติกรรม “จ่ายเงินใต้โต๊ะ” หรือ “ทอนเงิน” ให้กับข้าราชการหรือนักการเมืองเพื่อให้มีการจัดสรรงบโฆษณามาลงในสื่อหรือหนังสือพิมพ์
จากข้อมูลดังกล่าวเป็นที่น่าสังเกตอย่างยิ่งว่า การที่ นายประสงค์ เลิศรัตนวิสุทธิ์ นายกสมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย กล่าวในทำนองที่ว่า หากไม่มีโฆษณาจากหน่วยงานภาครัฐแล้วหนังสือพิมพ์-สื่อจะไม่สามารถอยู่รอดได้ จะเป็นสาเหตุหนึ่งหรือไม่ที่ทำให้สื่อกระแสหลักส่วนใหญ่ และหนังสือพิมพ์ยักษ์ใหญ่บางฉบับต้องเอาอกเอาใจนักการเมืองเป็นพิเศษ เพียงเพื่อหวังให้ธุรกิจอยู่รอดและทำกำไร อย่างเช่นกรณีที่เมื่อวันที่ 19 ก.ย.2551 ประธานกรรมการบริษัทของเครือหนังสือพิมพ์แห่งหนึ่งได้ไปมอบช่อดอกไม้แสดงความยินดี กับนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ที่ได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เป็นนายกรัฐมนตรี หรือการนัดมอบดอกไม้หรือนัดรับประทานอาหารเพื่อแสดงความยินดีกับนักการเมืองในโอกาสที่ได้รับตำแหน่ง หรือ ในโอกาสพิเศษต่างๆ เป็นต้น
เมื่อผู้สื่อข่าวตรวจสอบจำนวนโฆษณาภาครัฐของ นสพ.มติชนรายวัน ในรอบ 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา คือ ตั้งแต่ วันเสาร์ที่ 23 พ.ค. ถึงวันศุกร์ 29 พ.ค.52 ก็พบว่ามีหน่วยงานภาครัฐ หรือ หน่วยงานที่กำกับดูแลโดยภาครัฐ ลงโฆษณาในหนังสือพิมพ์ฉบับดังกล่าวมากถึง 63 ชิ้น โดย ไม่นับรวมถึงโฆษณาสถาบันการศึกษาของรัฐ โฆษณาของหน่วยงานรัฐวิสาหกิจที่แสวงหากำไร อีกทั้ง ไม่รวมโฆษณาในส่วนโฆษณาย่อย (Classified) และโฆษณาฉบับพิเศษ (Supplement) อื่นๆ
นอกจากนี้ยังมีข้อสังเกตด้วยว่า โฆษณาภาครัฐที่ลงใน นสพ.มติชนรายวัน จะกระจุกตัวอยู่ในช่วงวันทำการของราชการ คือ วันจันทร์ถึงวันศุกร์ โดยคิดเป็นสัดส่วนมากถึงประมาณร้อยละ 50 ของโฆษณาทั้งหมดที่ลงในหนังสือพิมพ์แต่ละวัน สำหรับรายละเอียดของโฆษณาในแต่ละวันมีดังนี้
วันเสาร์ที่ 23 พฤษภาคม 2552 มีโฆษณาของหน่วยงานภาครัฐ 2 ชิ้น จาก
1.กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงมหาดไทย
2.สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม
วันอาทิตย์ที่ 24 พฤษภาคม 2552 มีโฆษณาของหน่วยงานภาครัฐ 1 ชิ้น จาก
1.สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม
วันจันทร์ที่ 25 พฤษภาคม 2552 มีโฆษณาของหน่วยงานภาครัฐ 12 ชิ้น จาก
1.กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
2.กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) กระทรวงศึกษาธิการ
3.กรมการปกครอง
4.ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.)
5.สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.)
6.การเคหะแห่งชาติ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
7.กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
8.สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
9.กรมสรรพากร กระทรวงการคลัง
10.สำนักงานคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย
11.สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม
12.กรมพัฒนาพลังงานทดแทน กระทรวงพลังงาน
วันอังคารที่ 26 พฤษภาคม 2552 มีโฆษณาของหน่วยงานภาครัฐ 9 ชิ้น จาก
1.สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ และกระทรวงอุตสาหกรรม
2.สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (กปร.) สำนักนายกรัฐมนตรี
3.กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
4.สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม
5.สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกร (คปก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
6.สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.)
7.สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
8.กรมประชาสัมพันธ์
9.สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ
วันพุธที่ 27 พฤษภาคม 2552 มีโฆษณาของหน่วยงานภาครัฐ 14 ชิ้น จาก
1.องค์การเภสัชกรรม กระทรวงสาธารณสุข
2.กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย
3.การรถไฟแห่งประเทศไทย (ร.ฟ.ท.)
4.กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
5.สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน
6.กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
7.การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.)
8.กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน
9.สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน
10.สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
11.สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม
12.กระทรวงสาธารณสุข
13.สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) กระทรวงศึกษาธิการ
14.กรมประชาสัมพันธ์
วันพฤหัสบดีที่ 28 พฤษภาคม 2552 มีโฆษณาของหน่วยงานภาครัฐ 15 ชิ้น จาก
1.องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน สำนักนายกรัฐมนตรี
2.สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) สำนักนายกรัฐมนตรี
3.กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
4.บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย (บสท.) กระทรวงการคลัง
5.สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) กระทรวงการคลัง
6.กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.)
7.สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
8.สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.คุรุสภา กระทรวงศึกษาธิการ
10.กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
11.สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย กระทรวงอุตสาหกรรม
12.สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม
13.สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.)
14.กรมประชาสัมพันธ์
15.กรมประชาสัมพันธ์
วันศุกร์ที่ 29 พฤษภาคม 2552 มีโฆษณาของหน่วยงานภาครัฐ 10 ชิ้น จาก
1.กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน (กอ.รมน.) สำนักนายกรัฐมนตรี
2.การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.)
3.สำนักงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) กระทรวงศึกษาธิการ
4.สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม
5.กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์
6.สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (กปร.) สำนักนายกรัฐมนตรี
7.สำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
8.สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (กช.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.กรมประชาสัมพันธ์
10.สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กระทรวงสาธารณสุข
ทั้งนี้ เมื่อเปรียบเทียบจำนวนโฆษณาจากหน่วยงานภาครัฐของหนังสือพิมพ์มติชนรายวัน กับหนังสือพิมพ์ประเภทเดียวกัน หรือใกล้เคียงกัน อย่างเช่น สยามรัฐ คมชัดลึก เดลินิวส์ ไทยรัฐ แล้วก็จะเห็นได้ชัดว่ามีจำนวนแตกต่างกันอย่างชัดเจน
ด้านบรรณาธิการหนังสือพิมพ์อาวุโสท่านหนึ่งให้สัมภาษณ์ว่า การที่หนังสือพิมพ์ฉบับใดฉบับหนึ่งจะได้รับโฆษณาจากหน่วยงานภาครัฐมากเป็นพิเศษนั้นถือเป็นเรื่องปกติ เพราะหนังสือพิมพ์ฉบับนั้นอาจะได้รับความนิยมสูงและอาจมีอัตราค่าโฆษณาถูกก็เป็นได้ อย่างไรก็ตามจะถือว่าเป็นเรื่องไม่ถูกต้องและผิดจรรยาบรรณอย่างร้ายแรงหากหนังสือพิมพ์ฉบับใดมีพฤติกรรมการอิงแอบหรือเอาอกเอาใจนักการเมืองที่มีอำนาจ และยิ่งร้ายแรงกว่านั้น หากสื่อใดมีพฤติกรรม “จ่ายเงินใต้โต๊ะ” หรือ “ทอนเงิน” ให้กับข้าราชการหรือนักการเมืองเพื่อให้มีการจัดสรรงบโฆษณามาลงในสื่อหรือหนังสือพิมพ์
จากข้อมูลดังกล่าวเป็นที่น่าสังเกตอย่างยิ่งว่า การที่ นายประสงค์ เลิศรัตนวิสุทธิ์ นายกสมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย กล่าวในทำนองที่ว่า หากไม่มีโฆษณาจากหน่วยงานภาครัฐแล้วหนังสือพิมพ์-สื่อจะไม่สามารถอยู่รอดได้ จะเป็นสาเหตุหนึ่งหรือไม่ที่ทำให้สื่อกระแสหลักส่วนใหญ่ และหนังสือพิมพ์ยักษ์ใหญ่บางฉบับต้องเอาอกเอาใจนักการเมืองเป็นพิเศษ เพียงเพื่อหวังให้ธุรกิจอยู่รอดและทำกำไร อย่างเช่นกรณีที่เมื่อวันที่ 19 ก.ย.2551 ประธานกรรมการบริษัทของเครือหนังสือพิมพ์แห่งหนึ่งได้ไปมอบช่อดอกไม้แสดงความยินดี กับนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ที่ได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เป็นนายกรัฐมนตรี หรือการนัดมอบดอกไม้หรือนัดรับประทานอาหารเพื่อแสดงความยินดีกับนักการเมืองในโอกาสที่ได้รับตำแหน่ง หรือ ในโอกาสพิเศษต่างๆ เป็นต้น
สนธิ เริ่มปิดศึกกับเครื่องมติชน และ เทพชัย หย่องแล้วครับ
อ้ายนี่รู้สึกว่าจะไม่ค่อยถูกกะใครเลยนะ หาเรื่องไม่เว้นแต่ละวัน
คนอะไรวะศัตรูเต็มไปหมด เขาก็แค่แสดงความเห็นฐานะของสื่อเท่านั้น
ไม่ได้ไปเผาบ้านเผาเมืองใครซะหน่อย ร้อนเป็นไฟเลย
แค่บอกว่า ASTV เป็นสื่อเลือกข้าง แต่ถูกสนธิอัดกลับหาว่าเขาขี้ขลาด
ไม่ยอมเลือกข้าง ไม่มีความรู้พอที่จะรู้ว่าข้างไหนดีข้างไหนเลว
เปิดศึกไปทั่ว สงสัยจริงๆ หมอนี่จะได้ตายเพราะโรคชรากะเขาไหมเนียะ
Tuesday, May 26, 2009
INTERVIEW WITH EXILED FORMER THAI LEADER THAKSIN
สื่อเยอรมัน Spiegel รายงานเรื่ององคมนตรีไทยตั้งแก๊งปล้นเผาทำลาย....
วันพุธ, เมษายน 22, 2009
SPIEGEL สัมภาษณ์ทักษิณ : “ผมเป็นเหมือนหนู”
ที่มา ประชาไท
กิจกรรม นี้เกิดขึ้นจากทีมนักแปลอาสาสมัครที่อยากให้สาธารณชนได้บริโภคข่าวสารอย่าง รอบด้าน เนื่องเพราะเห็นว่าสื่อสารมวลชนของไทยมีปัญหาเรื่องการทำงานในสถานการณ์ วิกฤตินี้ เราจึงเลือกแปลข่าวของสื่อต่างชาติที่ยังสามารถทำงานตามหลักการวิชาชีพได้ โดยไม่มีอคติต่อฝ่ายใด และไม่มีอำนาจรัฐมาครอบงำ
ทีมแปลข่าวเฉพาะกิจ
ที่ มา: แปลจาก 'I'm Like a Rat', INTERVIEW WITH EXILED FORMER THAI LEADER THAKSIN, SPIEGEL ONLINE 04/20/2009, Interview conducted by Bernhard Zand
http://www.spiegel.de/international/world/0,1518,619943,00.html
สัมภาษณ์โดย เบอนาร์ด แซน (Bernhard Zand)
ใน การให้สัมภาษณ์ SPIEGEL, ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรีไทย วัย 59 ปี บอกเล่าถึงการลุกฮือขึ้นของกลุ่มผู้สนับสนุนเขาเพื่อต่อต้านรัฐบาลใน กรุงเทพฯ และบทบาทที่พระมหากษัติย์ควรทำในการแก้ปัญหาความขัดแย้งที่ไม่สิ้นสุดใน ประเทศที่สับสนอลหม่านในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นี้
SPIEGEL : ดร.ทักษิณ ข่าวที่เกิดขึ้นที่กรุงเทพฯเมื่อวันศุกร์ สนธิ ลิ้มทองกุล ผู้นำกลุ่มเสื้อเหลืองที่สนับสนุนรัฐบาลรอดชีวิตจากการพยายามลอบสังหาร เขาเป็นหนึ่งในบรรดาคู่ปรับที่ตามไล่ล่าคุณมากที่สุด
ทักษิณ ชินวัตร: รัฐบาลเป็นผู้ประกาศ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน แม้ว่าจะมาจากการเลือกตั้ง แต่รัฐบาลนี้ใช้อำนาจในทางที่เลวร้ายยิ่งกว่ารัฐบาลทหาร อำนาจนี้ควบคุมไปทุกแห่ง สามารถยึดและตรวจค้นได้โดยไม่ต้องมีหมายค้น และพวกเขาไม่คำนึงถึงเรื่องสิทธิมนุษยชน รัฐบาลนี้ได้รับใบอนุญาตฆ่า และผมมีความรู้สึกว่าช่วงเวลาของ “การฆ่าตัดตอน” กำลังเริ่มต้น – พูดอีกอย่าง พวกเขากำลังกำจัดใครก็ตามที่รู้มากเกินไปเกี่ยวกับพวกผู้มีอำนาจที่ต่อต้าน ผม
SPIEGEL: ตัวเลขทางการระบุว่า มีผู้เสียชีวิต 2 รายและบาดเจ็บ 123 รายในเหตุการณ์จลาจลครั้งล่าสุด คุณมีข้อโต้แย้งตัวเลขเหล่านี้หรือไม่?
ทักษิณ: มันเป็นการโกหกโดยสิ้นเชิง
SPIEGEL: คุณพิสูจน์ได้หรือไม่?
ทักษิณ: หลังจากที่พวกเขาบอกว่ามีผู้เสียชีวิตเพียง 2 คน พวกเราพบศพคนเสื้อแดง 2 คนที่ถูกมัดมือไว้ด้านหลังลอยอยู่ในแม่น้ำเจ้าพระยา พวกเรายังคงค้นหารายอื่นๆ อยู่
SPIEGEL: ปรากฎการณ์ในประเทศของคุณสร้างความตระหนกให้กับคนทั่วโลก อะไรคือเหตุผลของวิกฤตการณ์ที่ไม่สิ้นสุดนี้?
ทักษิณ: ชนชั้นนำทางการเมืองมีความกังวลมาก เพราะผมและพรรคพวกได้รับความนิยมและมีอำนาจเหมือนกับที่พวกเขาเป็นก่อนหน้า นี้ พวกเขาต้องการเปลี่ยนอำนาจให้ไปอยู่กับอีกฝ่ายหนึ่ง คือพรรคประชาธิปัตย์ แต่พวกเขาไม่สามารถทำได้ผ่านกระบวนการประชาธิปไตย ตอนนี้พวกเขากำลังใช้ทุกวิถีทาง พวกเขาพยายามลอบสังหารผมแต่ไม่สำเร็จ พวกเขายังก่อการประท้วงซึ่งไม่สำเร็จ แต่มันก็เพียงพอสำหรับพวกเขาที่จะใช้เป็นข้ออ้างในการทำรัฐประหาร หลังรัฐประหาร พวกเขาทำให้ระบบยุติธรรมกลายเป็นเรื่องการเมืองและตัดสินว่าผมและครอบครัวมี ความผิด จากนั้นเขาเขียนรัฐธรรมนูญที่ผิดกฎหมาย แต่ทั้งๆ ที่พวกเขาทำทุกอย่าง ประชาชนยังคงลงคะแนนให้พรรคของพวกผม สิ่งนี้ทำให้คนกรุงเทพฯไม่พอใจ นั่นคือเหตุผลว่า ทำไมการลุกฮือครั้งล่าสุดจึงเกิดขึ้น
SPIEGEL: ประเทศไทยจะรอดพ้นจากชะตากรรมนี้ได้อย่างไร?
ทักษิณ: ตราบใดที่การต่อสู้แย่งชิงอำนาจไม่โปร่งใสและไม่ได้ทำในวิถีทางประชาธิปไตย ทุกอย่างจะยังคงค้างคา เราจะไม่อาจกำจัดมันออกไปได้ ระบบยุติธรรมถูกใช้เพื่อค้ำยันสองมาตรฐาน—ผ่อนผันให้ฝ่ายหนึ่งและโหดร้ายกับ อีกฝ่ายหนึ่ง การสมานฉันท์เป็นทางออกเดียว
SPIEGEL: คุณร้องขอให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯเข้ามาแทรกแซงและยุติวิกฤตินี้ ทำไมยังไม่มีอะไรเกิดขึ้น?
ทักษิณ: ผมไม่ทราบ ผมไม่อาจพูดอะไรทั้งสิ้นเกี่ยวกับสถาบันกษัตริย์
SPIEGEL: แต่พระราชดำรัสของพระองค์เป็นการชี้ขาดอย่างชัดเจน
ทักษิณ: ผมขอพูดอย่างนี้ว่า พระองค์ท่านเป็นผู้เดียวเท่านั้นที่สามารถสร้างความสมานฉันท์ ผมไม่คิดว่าใครอื่นจะทำได้ ผมได้เฝ้ามองประเทศของผมจากข้างนอกมาสามปีแล้ว ยังไม่มีอะไรดีขึ้น
SPIEGEL: วิกฤตการณ์ของประเทศไทยเป็นวิกฤตการณ์ของสถาบันกษัตริย์ด้วยหรือไม่?
ทักษิณ: พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯทรงมีพระชนมพรรษา 81 พรรษาแล้ว พวกเราถวายพระพรให้พระองค์ทรงมีพระชนมายุยิ่งยืนนานและทรงเป็นที่เคารพ สักการะของประชาชนไทยทั่วแผ่นดิน ในฐานะที่เป็นคนไทย เป็นเรื่องยากที่ผมจะพูดได้มากกว่านี้ คนไทยไม่มีเสรีภาพในการพูดมากนัก
SPIEGEL: แต่คุณนั่งอยู่ที่นี่ในเมืองดูไบ ไม่ใช่ที่ประเทศไทย และคุณมีเสรีภาพเต็มที่ที่จะพูดในสิ่งที่คุณต้องการพูด
ทักษิณ: แต่ผมจะต้องระมัดระวังมากๆ ในฐานะที่เป็นคนไทยและเป็นอดีตนายกรัฐมนตรี ผมเคารพเทิดทูนพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯอย่างแท้จริง
SPIEGEL: ครั้งหนึ่งคุณเคยถูกมองว่าเป็นผู้ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯไว้วางใจ
ทักษิณ: ใช่ แต่ผมเป็นที่เกลียดชังของบุคคลที่อยู่รอบๆ พระองค์ ประธานองคมนตรี (คณะบุคคลที่ได้รับแต่งตั้งให้เป็นที่ปรึกษาของกษัตริย์) และอดีตนายกรัฐมนตรีภายใต้คณะรัฐประหารพยายามที่จะโค่นล้มผมโดยการรัฐประหาร
SPIEGEL: และตอนนี้คุณคิดว่าบุคคลเหล่านี้ต้องรับผิดชอบกับวิกฤตที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน?
ทักษิณ: รัฐบาลของผมเป็นรัฐบาลประชาธิปไตยที่มาจากการเลือกตั้งและชนะอย่างถล่มทลาย ตอนนี้ผมเป็นเหมือนหนูที่อยู่ในบ้าน พวกเขาต้องการที่จับผมจนกล้าที่จะเผาบ้านทั้งหลังเพื่อจับหนู
SPIEGEL: ฝ่ายตรงข้ามของคุณอ้างว่าคุณเป็นต้นเหตุของการจุดชนวนครั้งล่าสุดด้วยการเรียกร้องมาจากต่างประเทศให้มีการประท้วง
ทักษิณ: ผมต้องให้กำลังใจประชาชน แต่เมื่อพวกเราพูดว่า พวกเราต้องการปฏิวัติ พวกเราหมายถึงการปฏิวัติโดยสันติ พวกเราที่อยู่ในประเทศไทยอดทนมานานแล้วกับประชาธิปไตยที่ใช้สำหรับคนเพียง ไม่กี่คน หรือพวกชนชั้นนำทางการเมืองในกรุงเทพ
SPIEGEL: คุณยังคงได้รับความนิยมอย่างมากจากประชาชนในวงกว้าง นั่นหมายถึงคุณต้องแบกความรับผิดชอบไว้ด้วย คุณไม่สามารถทำอะไรมากกว่านี้ที่จะทำให้สถานการณ์ปัจจุบันสงบลงเลยหรือ?
ทักษิณ: ไม่มีทาง หนทางเดียว คือการสร้างความสมานฉันท์อย่างกว้างขวาง พวกเราใช้สันติวิธี ความรุนแรงที่เกิดขึ้นในประเทศไทยมาจากกลุ่มติดอาวุธที่รัฐบาลสนับสนุน พวกนี้คือกลุ่มคนที่เข้ามาปะปนกับกลุ่มผู้ประท้วง ฆ่าคน และก่อความวุ่นวายต่างๆ
SPIEGEL: คุณวางแผนว่าจะทำอะใรในตอนนี้โดยส่วนตัว?
ทักษิณ: ผมเดินทางมาก และปกติจะไม่อยู่ที่ไหนนานกว่าสองสัปดาห์ ผมมีธุรกิจที่ต้องดูแล แกนนำของกลุ่มเสื้อแดงทำงานกันอย่างอิสระและพวกเขาตัดสินใจกันเอง พวกเขาโทรศัพท์มาขอคำปรึกษาเป็นบางครั้ง แต่พวกเขาไม่จำเป็นต้องเชื่อผม ผมไม่ได้สนับสนุนเงินให้พวกเขา เพราะทรัพย์สินของผมในประเทศไทยถูกอายัด และผมไม่มีเงินมากนัก
SPIEGEL: รัฐบาลยกเลิกหนังสือเดินทางของคุณ – ตอนนี้คุณเดินทางอย่างไร?
ทักษิณ: ผมมีหนังสือเดินทางของประเทศอื่นๆ เพื่อนๆ และผู้นำจากหลายประเทศออกหนังสือเดินทางหรือเอกสารเดินทางให้ผมในฐานะพล เมืองกิติมศักดิ์ ประธานาธิบดีนิคารากัว แดเนี่ยล ออเตก้า เป็นผู้สนับสนุนผมอย่างแข็งขัน และประเทศของท่านได้ออกหนังสือเดินทางทูตให้ผม
SPIEGEL: ทำอย่างไรประเทศไทยถึงจะมีสันติภาพที่ยั่งยืน?
ทักษิณ: ทั้งสองฝ่ายต่างได้กระทำความผิด ถึงเวลาแล้วที่จะสมานฉันท์โดยการให้อภัยซึ่งกันและกัน ลืมอดีตที่ผ่านมาและมองไปข้างหน้า พวกเราควรเป็นประเทศเดียว เป็นหนึ่งเดียวกัน แต่ผมจะไม่ยอมรับ นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบัน และอีกฝ่ายหนึ่งก็จะไม่ยอมรับผม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะทรงโปรดฯ พระองค์จะทรงโปรดให้มีการร่างรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตย และต่อจากนั้นเราต้องการการเลือกตั้งใหม่
http://www.prachataiwebboard.com/webboard/wbtopic2.php?id=805106
วันพุธ, เมษายน 22, 2009
SPIEGEL สัมภาษณ์ทักษิณ : “ผมเป็นเหมือนหนู”
ที่มา ประชาไท
กิจกรรม นี้เกิดขึ้นจากทีมนักแปลอาสาสมัครที่อยากให้สาธารณชนได้บริโภคข่าวสารอย่าง รอบด้าน เนื่องเพราะเห็นว่าสื่อสารมวลชนของไทยมีปัญหาเรื่องการทำงานในสถานการณ์ วิกฤตินี้ เราจึงเลือกแปลข่าวของสื่อต่างชาติที่ยังสามารถทำงานตามหลักการวิชาชีพได้ โดยไม่มีอคติต่อฝ่ายใด และไม่มีอำนาจรัฐมาครอบงำ
ทีมแปลข่าวเฉพาะกิจ
ที่ มา: แปลจาก 'I'm Like a Rat', INTERVIEW WITH EXILED FORMER THAI LEADER THAKSIN, SPIEGEL ONLINE 04/20/2009, Interview conducted by Bernhard Zand
http://www.spiegel.de/international/world/0,1518,619943,00.html
สัมภาษณ์โดย เบอนาร์ด แซน (Bernhard Zand)
ใน การให้สัมภาษณ์ SPIEGEL, ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรีไทย วัย 59 ปี บอกเล่าถึงการลุกฮือขึ้นของกลุ่มผู้สนับสนุนเขาเพื่อต่อต้านรัฐบาลใน กรุงเทพฯ และบทบาทที่พระมหากษัติย์ควรทำในการแก้ปัญหาความขัดแย้งที่ไม่สิ้นสุดใน ประเทศที่สับสนอลหม่านในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นี้
SPIEGEL : ดร.ทักษิณ ข่าวที่เกิดขึ้นที่กรุงเทพฯเมื่อวันศุกร์ สนธิ ลิ้มทองกุล ผู้นำกลุ่มเสื้อเหลืองที่สนับสนุนรัฐบาลรอดชีวิตจากการพยายามลอบสังหาร เขาเป็นหนึ่งในบรรดาคู่ปรับที่ตามไล่ล่าคุณมากที่สุด
ทักษิณ ชินวัตร: รัฐบาลเป็นผู้ประกาศ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน แม้ว่าจะมาจากการเลือกตั้ง แต่รัฐบาลนี้ใช้อำนาจในทางที่เลวร้ายยิ่งกว่ารัฐบาลทหาร อำนาจนี้ควบคุมไปทุกแห่ง สามารถยึดและตรวจค้นได้โดยไม่ต้องมีหมายค้น และพวกเขาไม่คำนึงถึงเรื่องสิทธิมนุษยชน รัฐบาลนี้ได้รับใบอนุญาตฆ่า และผมมีความรู้สึกว่าช่วงเวลาของ “การฆ่าตัดตอน” กำลังเริ่มต้น – พูดอีกอย่าง พวกเขากำลังกำจัดใครก็ตามที่รู้มากเกินไปเกี่ยวกับพวกผู้มีอำนาจที่ต่อต้าน ผม
SPIEGEL: ตัวเลขทางการระบุว่า มีผู้เสียชีวิต 2 รายและบาดเจ็บ 123 รายในเหตุการณ์จลาจลครั้งล่าสุด คุณมีข้อโต้แย้งตัวเลขเหล่านี้หรือไม่?
ทักษิณ: มันเป็นการโกหกโดยสิ้นเชิง
SPIEGEL: คุณพิสูจน์ได้หรือไม่?
ทักษิณ: หลังจากที่พวกเขาบอกว่ามีผู้เสียชีวิตเพียง 2 คน พวกเราพบศพคนเสื้อแดง 2 คนที่ถูกมัดมือไว้ด้านหลังลอยอยู่ในแม่น้ำเจ้าพระยา พวกเรายังคงค้นหารายอื่นๆ อยู่
SPIEGEL: ปรากฎการณ์ในประเทศของคุณสร้างความตระหนกให้กับคนทั่วโลก อะไรคือเหตุผลของวิกฤตการณ์ที่ไม่สิ้นสุดนี้?
ทักษิณ: ชนชั้นนำทางการเมืองมีความกังวลมาก เพราะผมและพรรคพวกได้รับความนิยมและมีอำนาจเหมือนกับที่พวกเขาเป็นก่อนหน้า นี้ พวกเขาต้องการเปลี่ยนอำนาจให้ไปอยู่กับอีกฝ่ายหนึ่ง คือพรรคประชาธิปัตย์ แต่พวกเขาไม่สามารถทำได้ผ่านกระบวนการประชาธิปไตย ตอนนี้พวกเขากำลังใช้ทุกวิถีทาง พวกเขาพยายามลอบสังหารผมแต่ไม่สำเร็จ พวกเขายังก่อการประท้วงซึ่งไม่สำเร็จ แต่มันก็เพียงพอสำหรับพวกเขาที่จะใช้เป็นข้ออ้างในการทำรัฐประหาร หลังรัฐประหาร พวกเขาทำให้ระบบยุติธรรมกลายเป็นเรื่องการเมืองและตัดสินว่าผมและครอบครัวมี ความผิด จากนั้นเขาเขียนรัฐธรรมนูญที่ผิดกฎหมาย แต่ทั้งๆ ที่พวกเขาทำทุกอย่าง ประชาชนยังคงลงคะแนนให้พรรคของพวกผม สิ่งนี้ทำให้คนกรุงเทพฯไม่พอใจ นั่นคือเหตุผลว่า ทำไมการลุกฮือครั้งล่าสุดจึงเกิดขึ้น
SPIEGEL: ประเทศไทยจะรอดพ้นจากชะตากรรมนี้ได้อย่างไร?
ทักษิณ: ตราบใดที่การต่อสู้แย่งชิงอำนาจไม่โปร่งใสและไม่ได้ทำในวิถีทางประชาธิปไตย ทุกอย่างจะยังคงค้างคา เราจะไม่อาจกำจัดมันออกไปได้ ระบบยุติธรรมถูกใช้เพื่อค้ำยันสองมาตรฐาน—ผ่อนผันให้ฝ่ายหนึ่งและโหดร้ายกับ อีกฝ่ายหนึ่ง การสมานฉันท์เป็นทางออกเดียว
SPIEGEL: คุณร้องขอให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯเข้ามาแทรกแซงและยุติวิกฤตินี้ ทำไมยังไม่มีอะไรเกิดขึ้น?
ทักษิณ: ผมไม่ทราบ ผมไม่อาจพูดอะไรทั้งสิ้นเกี่ยวกับสถาบันกษัตริย์
SPIEGEL: แต่พระราชดำรัสของพระองค์เป็นการชี้ขาดอย่างชัดเจน
ทักษิณ: ผมขอพูดอย่างนี้ว่า พระองค์ท่านเป็นผู้เดียวเท่านั้นที่สามารถสร้างความสมานฉันท์ ผมไม่คิดว่าใครอื่นจะทำได้ ผมได้เฝ้ามองประเทศของผมจากข้างนอกมาสามปีแล้ว ยังไม่มีอะไรดีขึ้น
SPIEGEL: วิกฤตการณ์ของประเทศไทยเป็นวิกฤตการณ์ของสถาบันกษัตริย์ด้วยหรือไม่?
ทักษิณ: พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯทรงมีพระชนมพรรษา 81 พรรษาแล้ว พวกเราถวายพระพรให้พระองค์ทรงมีพระชนมายุยิ่งยืนนานและทรงเป็นที่เคารพ สักการะของประชาชนไทยทั่วแผ่นดิน ในฐานะที่เป็นคนไทย เป็นเรื่องยากที่ผมจะพูดได้มากกว่านี้ คนไทยไม่มีเสรีภาพในการพูดมากนัก
SPIEGEL: แต่คุณนั่งอยู่ที่นี่ในเมืองดูไบ ไม่ใช่ที่ประเทศไทย และคุณมีเสรีภาพเต็มที่ที่จะพูดในสิ่งที่คุณต้องการพูด
ทักษิณ: แต่ผมจะต้องระมัดระวังมากๆ ในฐานะที่เป็นคนไทยและเป็นอดีตนายกรัฐมนตรี ผมเคารพเทิดทูนพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯอย่างแท้จริง
SPIEGEL: ครั้งหนึ่งคุณเคยถูกมองว่าเป็นผู้ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯไว้วางใจ
ทักษิณ: ใช่ แต่ผมเป็นที่เกลียดชังของบุคคลที่อยู่รอบๆ พระองค์ ประธานองคมนตรี (คณะบุคคลที่ได้รับแต่งตั้งให้เป็นที่ปรึกษาของกษัตริย์) และอดีตนายกรัฐมนตรีภายใต้คณะรัฐประหารพยายามที่จะโค่นล้มผมโดยการรัฐประหาร
SPIEGEL: และตอนนี้คุณคิดว่าบุคคลเหล่านี้ต้องรับผิดชอบกับวิกฤตที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน?
ทักษิณ: รัฐบาลของผมเป็นรัฐบาลประชาธิปไตยที่มาจากการเลือกตั้งและชนะอย่างถล่มทลาย ตอนนี้ผมเป็นเหมือนหนูที่อยู่ในบ้าน พวกเขาต้องการที่จับผมจนกล้าที่จะเผาบ้านทั้งหลังเพื่อจับหนู
SPIEGEL: ฝ่ายตรงข้ามของคุณอ้างว่าคุณเป็นต้นเหตุของการจุดชนวนครั้งล่าสุดด้วยการเรียกร้องมาจากต่างประเทศให้มีการประท้วง
ทักษิณ: ผมต้องให้กำลังใจประชาชน แต่เมื่อพวกเราพูดว่า พวกเราต้องการปฏิวัติ พวกเราหมายถึงการปฏิวัติโดยสันติ พวกเราที่อยู่ในประเทศไทยอดทนมานานแล้วกับประชาธิปไตยที่ใช้สำหรับคนเพียง ไม่กี่คน หรือพวกชนชั้นนำทางการเมืองในกรุงเทพ
SPIEGEL: คุณยังคงได้รับความนิยมอย่างมากจากประชาชนในวงกว้าง นั่นหมายถึงคุณต้องแบกความรับผิดชอบไว้ด้วย คุณไม่สามารถทำอะไรมากกว่านี้ที่จะทำให้สถานการณ์ปัจจุบันสงบลงเลยหรือ?
ทักษิณ: ไม่มีทาง หนทางเดียว คือการสร้างความสมานฉันท์อย่างกว้างขวาง พวกเราใช้สันติวิธี ความรุนแรงที่เกิดขึ้นในประเทศไทยมาจากกลุ่มติดอาวุธที่รัฐบาลสนับสนุน พวกนี้คือกลุ่มคนที่เข้ามาปะปนกับกลุ่มผู้ประท้วง ฆ่าคน และก่อความวุ่นวายต่างๆ
SPIEGEL: คุณวางแผนว่าจะทำอะใรในตอนนี้โดยส่วนตัว?
ทักษิณ: ผมเดินทางมาก และปกติจะไม่อยู่ที่ไหนนานกว่าสองสัปดาห์ ผมมีธุรกิจที่ต้องดูแล แกนนำของกลุ่มเสื้อแดงทำงานกันอย่างอิสระและพวกเขาตัดสินใจกันเอง พวกเขาโทรศัพท์มาขอคำปรึกษาเป็นบางครั้ง แต่พวกเขาไม่จำเป็นต้องเชื่อผม ผมไม่ได้สนับสนุนเงินให้พวกเขา เพราะทรัพย์สินของผมในประเทศไทยถูกอายัด และผมไม่มีเงินมากนัก
SPIEGEL: รัฐบาลยกเลิกหนังสือเดินทางของคุณ – ตอนนี้คุณเดินทางอย่างไร?
ทักษิณ: ผมมีหนังสือเดินทางของประเทศอื่นๆ เพื่อนๆ และผู้นำจากหลายประเทศออกหนังสือเดินทางหรือเอกสารเดินทางให้ผมในฐานะพล เมืองกิติมศักดิ์ ประธานาธิบดีนิคารากัว แดเนี่ยล ออเตก้า เป็นผู้สนับสนุนผมอย่างแข็งขัน และประเทศของท่านได้ออกหนังสือเดินทางทูตให้ผม
SPIEGEL: ทำอย่างไรประเทศไทยถึงจะมีสันติภาพที่ยั่งยืน?
ทักษิณ: ทั้งสองฝ่ายต่างได้กระทำความผิด ถึงเวลาแล้วที่จะสมานฉันท์โดยการให้อภัยซึ่งกันและกัน ลืมอดีตที่ผ่านมาและมองไปข้างหน้า พวกเราควรเป็นประเทศเดียว เป็นหนึ่งเดียวกัน แต่ผมจะไม่ยอมรับ นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบัน และอีกฝ่ายหนึ่งก็จะไม่ยอมรับผม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะทรงโปรดฯ พระองค์จะทรงโปรดให้มีการร่างรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตย และต่อจากนั้นเราต้องการการเลือกตั้งใหม่
http://www.prachataiwebboard.com/webboard/wbtopic2.php?id=805106
"บิ๊กจิ๋ว"ทำปกขาวเตือนสติอย่าทำกองทัพเป็นของเผด็จการคนส่วนน้อย
คมชัดลึก :"บิ๊กจิ๋ว"ทำปกขาวเตือนสติ“บิ๊กทหาร ”อย่าทำกองทัพเป็นของเผด็จการคนส่วนน้อย
สอนน้องต้องเป็นตัวของตัวเอง ทำเพื่อประโยชน์ประชา ชน ช่วยยุติความแตกแยกคนในชาติ
(14พ.ค.) ผู้สื่อข่าวรายงานว่า พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ อดีตนายกรัฐมนตรี และผู้บัญชาการทหารบก จัดทำ
หนังสือเรื่อง “ยุทธศาสตร์แก้ไขความขัดแย้ง” ปกสีขาวแจกจ่าย เนื่องในโอกาสวันเกิดครบ
รอบ 77 ปี เมื่อวันที่ 15 พ.ค.โดยรวมรวมคำบรรยายตั้งแต่ปี 2523 ซึ่งเป็นช่วงที่เกิดความขัดแย้งในประเทศ
ถึงขั้นใช้อาวุธเข้าต่อสู้กัน จนกระทั่งแก้ไขปัญหายุติความขัดแย้งลงได้ด้วยการที่ทำความเข้าใจกับผู้ที่ หนีเข้า
ป่าไปอยู่ภายใต้การดูแลของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ซึ่งสงครามครั้งนั้นไม่มีผู้แพ้ ผู้ชนะ
พล.อ.ชวลิต กล่าวในบทนำว่า อยากให้ ทหาร ตำรวจ และฝ่ายปกครอง นำคำบรรยายของตนเองไปใช้ให้เป็น
ประโยชน์ และประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่างเผด็จการ คอมมิวนิสต์และประชาธิปไตย ซึ่ง
ตกค้างมากว่า 20 ปีที่แล้ว ซึ่งการแก้ไขปัญหาในอดีตทำได้ด้วยความปรารถนาดีและหวังดีของคนไทยที่รักชาติ
รักแผ่นดิน และความกล้าหาญของพี่น้องทุกฝ่าย ด้วยความสามารถของรัฐบาลในยุคนั้น และที่สำคัญสูงสุดคือ
ด้วยบารมีปกเกล้าปกกระหม่อมของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ หัวฯ สมเด็จพระนางเจ้าฯ และ พระบรมราชจักรี
วงศ์ทุกพระองค์ทำให้ประเทศชาติหลุดพ้นจากภัยพิบัติในยุคนั้น มาได้
บทนำบอกด้วยว่า ปัจจุบันสถานการณ์ความขัดแย้งเริ่มครุกรุ่นขึ้นมาอีกครั้ง โดยมีฝ่ายต่างๆ เผชิญหน้าแย่งชิง
อำนาจผลประโยชน์ โดยไม่คำนึงถึงประเทศชาติ ประชาชน มุ่งเอาประชาชนเป็นเครื่องมือ ทำให้เกิดความ
แตกแยกในหมู่ประชาชนเป็นอย่างมาก กองทัพซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีภารกิจในการรักษาความมั่นคงของชาติ
ควรจะยึดหลักให้มั่น คิดถึงความมั่นคงของชาติ ศาสน์ และ พระมหากษัตริย์เป็นหลัก เนื่องจากกองทัพไทยเป็น
สถาบันคู่บ้านคู่เมืองมาตั้งแต่โบราณ โดยผ่านวิวัฒนาการและทำการต่อสู้เพื่อพิทักษ์รักษาและค้ำจุนชาติมาทุก
ยุคทุก สมัย ได้รับบทเรียนทั้งในทางที่เป็นคุณและเป็นโทษต่อชาติบ้านเมืองอย่างมากมาย
ทหาร ในกองทัพต้องมีความสำนึกอยู่เสมอว่า กองทัพเป็นของประชาชน ทุกสิ่งที่กองทัพกระทำ ต้องกระทำเพื่อ
ผลประโยชน์ของประชาชน ผู้เป็นเจ้าของประเทศ และเจ้าของกองทัพ โดยกองทัพจะต้องมีอุดมการณ์และมีจุด
ยืนประชาธิปไตย ที่มีพระมหากษัตริย์ เป็นองค์ประมุขแห่งรัฐ บทบาทของกองทัพที่มีต่อการเมือง หรือการ
ปกครองในระบอบประชาธิปไตยในอันที่กองทัพจำเป็นต้องเข้าไปเกี่ยวข้อง โดยเฉพาะในห้วงระยะเวลาแห่งการ
เปลี่ยนแปลงนั้น จะตั้งอยู่บนพื้นฐานผลประโยชน์ของประชาชนเสมอ โดยกองทัพจะร่วมมือกับฝ่ายพลเรือนเพื่อ
สร้างความสมัครสมานสามัคคีไม่แบ่งแยก ในอันที่จะพัฒนาระบอบการปกครองให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์
แบบ คือระบอบการปกครองที่จะทำให้ประชาชนแผ่นดินนี้ มีความสำนึกว่าเขาเป็นเจ้าของแผ่นดิน และได้รับผล
ประโยชน์จากประเทศนี้อย่างเป็นธรรม กองทัพจึงต้องทำให้ประชาชนเลื่อมใสศรัทธาในสิ่งที่ทำ และ มีความ
รู้สึกว่าเป็นเจ้าของกองทัพอย่างแท้จริง
ในคำบรรยาย เรื่อง “ทหารกับประชาธิปไตยไทย” ในช่วงปี 2531 มีเนื้อหาตอนหนึ่งระบุว่า
สถานการณ์ตอนนั้น กองทัพเป็นตัวของตัวเองมากขึ้น และเป็นประชาธิปไตยพอสมควรทีเดียว มีแนวโน้มเป็น
กองทัพของประชาชน ดังที่กองทัพได้แสดงเจตนารมณ์ในการแก้ไขปัญหาคอมมิวนิสต์ตลอดมา กองทัพเป็น
ของประชาชน มาจากประชาชน และกองทัพเป็นมิตรของประชาชนและศัตรูของคอมมิวนิสต์ กองทัพนั้นเป็นได้
เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง 2 อย่างคือ กองทัพเป็นของเผด็จการ (เป็นของคนส่วนน้อย) หรือกองทัพเป็นของ
ประชาชน เพราะว่าระบอบประชาธิปไตยนั้นเป็นการปกครองของประชาชน
“บทบาทของ กองทัพในห้วงระยะเวลาของการเปลี่ยนแปลงนั้น กองทัพเข้าใจดี และ มิได้คิดที่จะไปมี
บทบาทในลักษณะไปยึดอำนาจในการปกครองประเทศมาเป็นของกองทัพ เลยแม้แต่น้อย บางคนอาจมองว่า
ทหารต้องการปกครองประเทศ ทหารต้องการทุกสิ่งทุกอย่าง ทหารเป็นเทวดา ฯลฯ ซึ่งข้อเท็จจริงไม่ได้เป็นเช่น
นั้น ทหารกลับคิดว่าทำอย่างไรจึงจะให้ระยะเปลี่ยนแปลงนั้นมันสั้นที่สุด ทำอย่างไรจึงจะถอนตัวออกมาให้เร็วที่สุด
ประเทศชาติจะได้เป็นประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์เป็นองค์พระประมุขแห่ง รัฐเท่านั้น เพราะเป็นระบอบที่
เหมาะสมกับสังคมไทย และประชาชนไทยต้องการ จึงสรุปได้ว่าทหารหรือกองทัพไม่ได้มีเจตนาที่จะเข้าไป
ผูกพันทางการเมืองตลอดไป การผูกพันที่เป็นอยู่เป็นการผูกพันในห้วงระยะเวลาของการเปลี่ยนแปลงเท่า
นั้น”
ใน หนังสือได้นำเอกสาร ลับ บันทึกคำบรรยาย เรื่อง นโยบายและแนวทางการต่อสู้ในเมืองเพื่อเอาชนะ
คอมมิวนิสต์ ที่หอประชุมกิตติขจร เมื่อวันที่ 23 ธค. 23 มาตีพิมพ์ในท้ายของหนังสือด้วย โดยส่วนใหญ่ได้พูดถึง
นโยบาย 66 / 23 พร้อมตบท้ายว่า เราจะบรรลุผลสำเร็จในการแก้ปัญหาของชาติได้เพียงใด ขึ้นอยู่กับทุกคน
ว่าจะดำเนินรอยตามเบื้องพระยุคลบาทของพระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ที่ทรงถือ ว่า “ ทุกข์ของ
ราษฎร ทุกข์ของชาติ คือทุกข์ของแผ่นดิน” หรือไม่เพียงใด
สอนน้องต้องเป็นตัวของตัวเอง ทำเพื่อประโยชน์ประชา ชน ช่วยยุติความแตกแยกคนในชาติ
(14พ.ค.) ผู้สื่อข่าวรายงานว่า พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ อดีตนายกรัฐมนตรี และผู้บัญชาการทหารบก จัดทำ
หนังสือเรื่อง “ยุทธศาสตร์แก้ไขความขัดแย้ง” ปกสีขาวแจกจ่าย เนื่องในโอกาสวันเกิดครบ
รอบ 77 ปี เมื่อวันที่ 15 พ.ค.โดยรวมรวมคำบรรยายตั้งแต่ปี 2523 ซึ่งเป็นช่วงที่เกิดความขัดแย้งในประเทศ
ถึงขั้นใช้อาวุธเข้าต่อสู้กัน จนกระทั่งแก้ไขปัญหายุติความขัดแย้งลงได้ด้วยการที่ทำความเข้าใจกับผู้ที่ หนีเข้า
ป่าไปอยู่ภายใต้การดูแลของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ซึ่งสงครามครั้งนั้นไม่มีผู้แพ้ ผู้ชนะ
พล.อ.ชวลิต กล่าวในบทนำว่า อยากให้ ทหาร ตำรวจ และฝ่ายปกครอง นำคำบรรยายของตนเองไปใช้ให้เป็น
ประโยชน์ และประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่างเผด็จการ คอมมิวนิสต์และประชาธิปไตย ซึ่ง
ตกค้างมากว่า 20 ปีที่แล้ว ซึ่งการแก้ไขปัญหาในอดีตทำได้ด้วยความปรารถนาดีและหวังดีของคนไทยที่รักชาติ
รักแผ่นดิน และความกล้าหาญของพี่น้องทุกฝ่าย ด้วยความสามารถของรัฐบาลในยุคนั้น และที่สำคัญสูงสุดคือ
ด้วยบารมีปกเกล้าปกกระหม่อมของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ หัวฯ สมเด็จพระนางเจ้าฯ และ พระบรมราชจักรี
วงศ์ทุกพระองค์ทำให้ประเทศชาติหลุดพ้นจากภัยพิบัติในยุคนั้น มาได้
บทนำบอกด้วยว่า ปัจจุบันสถานการณ์ความขัดแย้งเริ่มครุกรุ่นขึ้นมาอีกครั้ง โดยมีฝ่ายต่างๆ เผชิญหน้าแย่งชิง
อำนาจผลประโยชน์ โดยไม่คำนึงถึงประเทศชาติ ประชาชน มุ่งเอาประชาชนเป็นเครื่องมือ ทำให้เกิดความ
แตกแยกในหมู่ประชาชนเป็นอย่างมาก กองทัพซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีภารกิจในการรักษาความมั่นคงของชาติ
ควรจะยึดหลักให้มั่น คิดถึงความมั่นคงของชาติ ศาสน์ และ พระมหากษัตริย์เป็นหลัก เนื่องจากกองทัพไทยเป็น
สถาบันคู่บ้านคู่เมืองมาตั้งแต่โบราณ โดยผ่านวิวัฒนาการและทำการต่อสู้เพื่อพิทักษ์รักษาและค้ำจุนชาติมาทุก
ยุคทุก สมัย ได้รับบทเรียนทั้งในทางที่เป็นคุณและเป็นโทษต่อชาติบ้านเมืองอย่างมากมาย
ทหาร ในกองทัพต้องมีความสำนึกอยู่เสมอว่า กองทัพเป็นของประชาชน ทุกสิ่งที่กองทัพกระทำ ต้องกระทำเพื่อ
ผลประโยชน์ของประชาชน ผู้เป็นเจ้าของประเทศ และเจ้าของกองทัพ โดยกองทัพจะต้องมีอุดมการณ์และมีจุด
ยืนประชาธิปไตย ที่มีพระมหากษัตริย์ เป็นองค์ประมุขแห่งรัฐ บทบาทของกองทัพที่มีต่อการเมือง หรือการ
ปกครองในระบอบประชาธิปไตยในอันที่กองทัพจำเป็นต้องเข้าไปเกี่ยวข้อง โดยเฉพาะในห้วงระยะเวลาแห่งการ
เปลี่ยนแปลงนั้น จะตั้งอยู่บนพื้นฐานผลประโยชน์ของประชาชนเสมอ โดยกองทัพจะร่วมมือกับฝ่ายพลเรือนเพื่อ
สร้างความสมัครสมานสามัคคีไม่แบ่งแยก ในอันที่จะพัฒนาระบอบการปกครองให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์
แบบ คือระบอบการปกครองที่จะทำให้ประชาชนแผ่นดินนี้ มีความสำนึกว่าเขาเป็นเจ้าของแผ่นดิน และได้รับผล
ประโยชน์จากประเทศนี้อย่างเป็นธรรม กองทัพจึงต้องทำให้ประชาชนเลื่อมใสศรัทธาในสิ่งที่ทำ และ มีความ
รู้สึกว่าเป็นเจ้าของกองทัพอย่างแท้จริง
ในคำบรรยาย เรื่อง “ทหารกับประชาธิปไตยไทย” ในช่วงปี 2531 มีเนื้อหาตอนหนึ่งระบุว่า
สถานการณ์ตอนนั้น กองทัพเป็นตัวของตัวเองมากขึ้น และเป็นประชาธิปไตยพอสมควรทีเดียว มีแนวโน้มเป็น
กองทัพของประชาชน ดังที่กองทัพได้แสดงเจตนารมณ์ในการแก้ไขปัญหาคอมมิวนิสต์ตลอดมา กองทัพเป็น
ของประชาชน มาจากประชาชน และกองทัพเป็นมิตรของประชาชนและศัตรูของคอมมิวนิสต์ กองทัพนั้นเป็นได้
เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง 2 อย่างคือ กองทัพเป็นของเผด็จการ (เป็นของคนส่วนน้อย) หรือกองทัพเป็นของ
ประชาชน เพราะว่าระบอบประชาธิปไตยนั้นเป็นการปกครองของประชาชน
“บทบาทของ กองทัพในห้วงระยะเวลาของการเปลี่ยนแปลงนั้น กองทัพเข้าใจดี และ มิได้คิดที่จะไปมี
บทบาทในลักษณะไปยึดอำนาจในการปกครองประเทศมาเป็นของกองทัพ เลยแม้แต่น้อย บางคนอาจมองว่า
ทหารต้องการปกครองประเทศ ทหารต้องการทุกสิ่งทุกอย่าง ทหารเป็นเทวดา ฯลฯ ซึ่งข้อเท็จจริงไม่ได้เป็นเช่น
นั้น ทหารกลับคิดว่าทำอย่างไรจึงจะให้ระยะเปลี่ยนแปลงนั้นมันสั้นที่สุด ทำอย่างไรจึงจะถอนตัวออกมาให้เร็วที่สุด
ประเทศชาติจะได้เป็นประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์เป็นองค์พระประมุขแห่ง รัฐเท่านั้น เพราะเป็นระบอบที่
เหมาะสมกับสังคมไทย และประชาชนไทยต้องการ จึงสรุปได้ว่าทหารหรือกองทัพไม่ได้มีเจตนาที่จะเข้าไป
ผูกพันทางการเมืองตลอดไป การผูกพันที่เป็นอยู่เป็นการผูกพันในห้วงระยะเวลาของการเปลี่ยนแปลงเท่า
นั้น”
ใน หนังสือได้นำเอกสาร ลับ บันทึกคำบรรยาย เรื่อง นโยบายและแนวทางการต่อสู้ในเมืองเพื่อเอาชนะ
คอมมิวนิสต์ ที่หอประชุมกิตติขจร เมื่อวันที่ 23 ธค. 23 มาตีพิมพ์ในท้ายของหนังสือด้วย โดยส่วนใหญ่ได้พูดถึง
นโยบาย 66 / 23 พร้อมตบท้ายว่า เราจะบรรลุผลสำเร็จในการแก้ปัญหาของชาติได้เพียงใด ขึ้นอยู่กับทุกคน
ว่าจะดำเนินรอยตามเบื้องพระยุคลบาทของพระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ที่ทรงถือ ว่า “ ทุกข์ของ
ราษฎร ทุกข์ของชาติ คือทุกข์ของแผ่นดิน” หรือไม่เพียงใด
Saturday, May 23, 2009
หมาหลงกับกาฝาก ไทยรัฐเช้านี้ เยี่ยม
หมดสต๊อกแล้ว ไม่เหลือหน่วยกล้าตายฝ่าดงบาทา
ก็ขนาดนักเลงโบราณที่ด้านชากับกระแสสังคมมาทั้งชีวิตอย่าง "ป๋าเหนาะ" นายเสนาะ เทียนทอง หัวหน้าพรรคประชาราช ยังโดดเหยง อัปเปหิตัวเองออกมานั่งพักหายใจ ทำตัวโลว์โปรไฟล์ อยู่วงนอก
ไม่รู้จะเปลืองตัวไปหาพระแสงอะไร
ปล่อยให้เกมรื้อรัฐธรรมนูญ นิรโทษกรรม ตกเป็นของพวกสมานฉันท์เฉพาะฝ่ายพิฆาตอดีตนายกฯทักษิณ ชินวัตร ไปโดยปริยาย
ณ วันนี้ก็เลยมีแต่เสียงโวยวาย แฉตีกิน ชิงดักคอตีกัน ออกมาจากคนหน้าเก่าๆ มุกเดิมๆ อย่างนายเจิมศักดิ์ ปิ่นทอง นายเรืองไกร ลีกิจวัฒนะ หรือนักวิชาการอย่างนายสุรพล นิติไกรพจน์ คนในโควตาของพรรคประชาธิปัตย์
นี่ล่ะมาตรฐานคนกลาง ไม่เข้าใครออกใคร
พูดอะไรแล้วสังคมตามแห่ ด้วยขีดความสามารถในการชิงกระแสเหนือกว่า ประกอบกับเครือข่ายสื่อที่พร้อมสนองเกมยึดพื้นที่ข่าว
เอาเป็นว่าหน่วยพิทักษ์รัฐธรรมนูญ "หน้าแหลมฟันดำ" กำลังถือแต้มต่อ
แต่ที่รอกินรวบสองเด้ง กับลูกเขี้ยวของคนพรรคประชาธิปัตย์ที่คั่วไพ่สองหน้า หน้าหนึ่งนายกฯอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ก็เล่นบทซื้อใจนักโทษการเมืองในหมู่พรรคร่วมรัฐบาล แต่โดยเบื้องลึกของจิตใจก็อย่างที่รุ่นใหญ่อย่างนายชวน หลีกภัย กับนายบัญญัติ บรรทัดฐาน โดดออกมาขวางรื้อรัฐธรรมนูญ
ก็รู้กันอยู่ ยี่ห้อประชาธิปัตย์มีหรือจะใจกว้างขนาดเปิดทางให้คู่แข่งเหนือกว่า
มันก็อย่างที่ พล.อ.เลิศรัตน์ รัตนวนิช ส.ว.สรรหา ประธานอนุกรรมการพิจารณาศึกษาแนวทางการแก้ไขรัฐธรรมนูญฯ พูดทะลุกลางปล้องดังๆ เหตุที่พรรคการเมืองบางพรรคไม่อยากให้แก้รัฐธรรมนูญก็เพราะกลัวตัวเองจะเสียเปรียบ เพราะได้เปรียบกับการใช้รัฐธรรมนูญปี 50
วัดกันง่ายๆกับประเด็นการกลับไปใช้การเลือกตั้ง ส.ส.แบบเขตเดียวเบอร์เดียว ที่ไม่ได้เกี่ยวอะไรกับปมคดีอาญา หรือนิรโทษกรรมให้คุณกับใคร
แต่ประชาธิปัตย์ก็ยังยื้อให้คงแบบแบ่งเขตเรียงเบอร์ตามรัฐธรรมนูญปัจจุบัน
นั่นก็เพราะวัดกันตัวต่อตัว ประชาธิปัตย์มั่นใจได้แค่คะแนนในเขตเมือง แม้แต่ในกรุงเทพฯที่ว่ากระแสแรงๆ เจอพลังรากหญ้าเขตชั้นนอกแล้วแทบไม่เห็นฝุ่น ต้องอาศัยเขตใหญ่ แบ่งพื้นที่เลือกตั้งให้เขตชั้นนอกรวมกับเขตชั้นใน ดึงคะแนนชนชั้นกลางเขตกลางเมือง ฉุดยกพวง
ปัญหามันอยู่ที่ว่าประชาธิปัตย์จะส่งผู้สมัคร "หมาหลง" มาลงยังไงก็ได้ พอเป็นผู้แทนฯ แล้วก็หายหัว ไม่เคยกลับไปดูแลทุกข์สุขชาวบ้าน
แก้สันดานพวก "กาฝาก" ไม่ได้.
ก็ขนาดนักเลงโบราณที่ด้านชากับกระแสสังคมมาทั้งชีวิตอย่าง "ป๋าเหนาะ" นายเสนาะ เทียนทอง หัวหน้าพรรคประชาราช ยังโดดเหยง อัปเปหิตัวเองออกมานั่งพักหายใจ ทำตัวโลว์โปรไฟล์ อยู่วงนอก
ไม่รู้จะเปลืองตัวไปหาพระแสงอะไร
ปล่อยให้เกมรื้อรัฐธรรมนูญ นิรโทษกรรม ตกเป็นของพวกสมานฉันท์เฉพาะฝ่ายพิฆาตอดีตนายกฯทักษิณ ชินวัตร ไปโดยปริยาย
ณ วันนี้ก็เลยมีแต่เสียงโวยวาย แฉตีกิน ชิงดักคอตีกัน ออกมาจากคนหน้าเก่าๆ มุกเดิมๆ อย่างนายเจิมศักดิ์ ปิ่นทอง นายเรืองไกร ลีกิจวัฒนะ หรือนักวิชาการอย่างนายสุรพล นิติไกรพจน์ คนในโควตาของพรรคประชาธิปัตย์
นี่ล่ะมาตรฐานคนกลาง ไม่เข้าใครออกใคร
พูดอะไรแล้วสังคมตามแห่ ด้วยขีดความสามารถในการชิงกระแสเหนือกว่า ประกอบกับเครือข่ายสื่อที่พร้อมสนองเกมยึดพื้นที่ข่าว
เอาเป็นว่าหน่วยพิทักษ์รัฐธรรมนูญ "หน้าแหลมฟันดำ" กำลังถือแต้มต่อ
แต่ที่รอกินรวบสองเด้ง กับลูกเขี้ยวของคนพรรคประชาธิปัตย์ที่คั่วไพ่สองหน้า หน้าหนึ่งนายกฯอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ก็เล่นบทซื้อใจนักโทษการเมืองในหมู่พรรคร่วมรัฐบาล แต่โดยเบื้องลึกของจิตใจก็อย่างที่รุ่นใหญ่อย่างนายชวน หลีกภัย กับนายบัญญัติ บรรทัดฐาน โดดออกมาขวางรื้อรัฐธรรมนูญ
ก็รู้กันอยู่ ยี่ห้อประชาธิปัตย์มีหรือจะใจกว้างขนาดเปิดทางให้คู่แข่งเหนือกว่า
มันก็อย่างที่ พล.อ.เลิศรัตน์ รัตนวนิช ส.ว.สรรหา ประธานอนุกรรมการพิจารณาศึกษาแนวทางการแก้ไขรัฐธรรมนูญฯ พูดทะลุกลางปล้องดังๆ เหตุที่พรรคการเมืองบางพรรคไม่อยากให้แก้รัฐธรรมนูญก็เพราะกลัวตัวเองจะเสียเปรียบ เพราะได้เปรียบกับการใช้รัฐธรรมนูญปี 50
วัดกันง่ายๆกับประเด็นการกลับไปใช้การเลือกตั้ง ส.ส.แบบเขตเดียวเบอร์เดียว ที่ไม่ได้เกี่ยวอะไรกับปมคดีอาญา หรือนิรโทษกรรมให้คุณกับใคร
แต่ประชาธิปัตย์ก็ยังยื้อให้คงแบบแบ่งเขตเรียงเบอร์ตามรัฐธรรมนูญปัจจุบัน
นั่นก็เพราะวัดกันตัวต่อตัว ประชาธิปัตย์มั่นใจได้แค่คะแนนในเขตเมือง แม้แต่ในกรุงเทพฯที่ว่ากระแสแรงๆ เจอพลังรากหญ้าเขตชั้นนอกแล้วแทบไม่เห็นฝุ่น ต้องอาศัยเขตใหญ่ แบ่งพื้นที่เลือกตั้งให้เขตชั้นนอกรวมกับเขตชั้นใน ดึงคะแนนชนชั้นกลางเขตกลางเมือง ฉุดยกพวง
ปัญหามันอยู่ที่ว่าประชาธิปัตย์จะส่งผู้สมัคร "หมาหลง" มาลงยังไงก็ได้ พอเป็นผู้แทนฯ แล้วก็หายหัว ไม่เคยกลับไปดูแลทุกข์สุขชาวบ้าน
แก้สันดานพวก "กาฝาก" ไม่ได้.
"ใช้อำนาจถูกต้องหรือไม่ ?" ... บุญเลิศ ช้างใหญ่ ถามอภิสิทธิ์
วันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 ปีที่ 32 ฉบับที่ 11394 มติชนรายวัน
ใช้อำนาจถูกต้องหรือไม่
โดย บุญเลิศ ช้างใหญ่
ในประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงในกรุงเทพฯ และ 5 จังหวัดปริมณฑล ที่ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีลงนามเมื่อเวลาประมาณ 14.00 น. วันที่ 12 เมษายน 2552 โดยแถลงผ่านโทรทัศน์นั้น หลังจากกล่าวถึงสภาพการณ์ปัญหาความวุ่นวายอันเนื่องมาจากการชุมนุมของคนเสื้อแดงและการปฏิบัติการต่างๆ ในย่อหน้าก่อนสุดท้ายได้ระบุว่า "อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 5 และมาตรา 11 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 อันเป็นกฎหมายที่บัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบด้วยมาตรา 32 มาตรา 33 มาตรา 34 มาตรา 36 มาตรา 38 มาตรา 41 มาตรา 43 มาตรา 45 และมาตรา 63 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย นายกรัฐมนตรีจึงให้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงในเขตท้องที่..... .........ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป"
เมื่ออาศัยอำนาจตามมาตรา 5 และมาตรา 11 ของ พ.ร.ก.ฉุกเฉินในการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่ร้ายแรงในกรุงเทพฯ และ 5 จังหวัดปริมณฑล จึงต้องไปดูว่า มาตรา 5 และมาตรา 11 บัญญัติไว้อย่างไร
มาตรา 5 เมื่อปรากฏว่ามีสถานการณ์ฉุกเฉินเกิดขึ้นและนายกรัฐมนตรีเห็นสมควรใช้กำลังเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองหรือตำรวจ เจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือนหรือเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารร่วมกันป้องกัน แก้ไข ปราบปราม ระงับยับยั้ง ฟื้นฟู หรือช่วยเหลือประชาชน ให้นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี มีอำนาจประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินเพื่อบังคับใช้ทั่วราชอาณาจักร หรือในบางเขตบางท้องที่ได้ตามความจำเป็นแห่งสถานการณ์ ในกรณีที่ไม่อาจขอความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีได้ทันท่วงที นายกรัฐมนตรีอาจประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินไปก่อน แล้วดำเนินการให้ได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีภายในเวลาที่กำหนด หรือคณะรัฐมนตรีไม่ให้ความเห็นชอบ ให้การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินดังกล่าวเป็นอันสิ้นสุดลง
การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินตามวรรคหนึ่ง ให้ใช้บังคับตลอดระยะเวลาที่นายกรัฐมนตรีกำหนด แต่ต้องไม่เกินสามเดือนนับแต่วันประกาศ ในกรณีที่มีความจำเป็นต้องขยายระยะเวลา ให้นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีมีอำนาจประกาศขยายระยะเวลาการใช้บังคับออกไปอีกเป็นคราวๆ คราวละไม่เกินสามเดือน
เมื่อสถานการณ์ฉุกเฉินสิ้นสุดลงแล้ว หรือเมื่อคณะรัฐมนตรีไม่ให้ความเห็นชอบ หรือเมื่อสิ้นสุดกำหนดเวลาตามวรรคสอง ให้นายกรัฐมนตรีประกาศยกเลิกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน
ส่วนมาตรา 11 เป็นการให้อำนาจนายกรัฐมนตรี 11 ประการ
เมื่อพิจารณาจากมาตรา 5 ประเด็นปัญหาอยู่ตรงที่การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินวันที่ 12 เมษายนที่กระทรวงมหาดไทยนั้น นายกรัฐมนตรีประกาศไปเองหรือผ่านความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี
โดยข้อเท็จจริง นายกรัฐมนตรีได้ใช้กระทรวงมหาดไทยเป็นสถานที่ประชุมร่วมกับผู้นำทหาร มีรัฐมนตรีมาร่วม 6 คน จากทั้งหมด 35 คน ใครก็ตามที่อ้างว่า รัฐมนตรี 6 คนก็เป็นองค์ประชุมที่สามารถให้ความเห็นชอบได้แล้ว จะต้องมีกฎหมายหรือธรรมเนียมปฏิบัติมาอธิบายให้ชัดเจน หาไม่แล้วจะทำให้หลักการประชุมของคณะรัฐมนตรีและการให้ความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีเบี่ยงเบนไปตามอำเภอใจของนายกรัฐมนตรีซึ่งเป็นสิ่งไม่ถูกต้องและไม่อาจยอมรับได้ เพราะเท่ากับยอมรับให้คณะรัฐมนตรีซึ่งเป็นองค์กรของคณะผู้บริหารประเทศเดินไปบนความสุ่มเสี่ยงเนื่องจากการตัดสินใจด้วยคนไม่กี่คน
เมื่อนายกรัฐมนตรีประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินไปก่อนเพราะไม่อาจขอความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีได้ทันท่วงที ในมาตรา 5 นั้นเองก็บัญญัติว่าจะต้องดำเนินการให้ได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีภายใน 3 วัน (ครบกำหนดเวลาประมาณ 14.00 น. วันที่ 15 เมษายน) ซึ่งก็ไม่ปรากฏว่าคณะรัฐมนตรีจะมีการประชุมแต่ประการใด ดังนั้น การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินจึงต้องสิ้นสุดลง นายกรัฐมนตรีและเจ้าหน้าที่ที่นายกรัฐมนตรีออกคำสั่งแต่งตั้งพร้อมกับให้มีอำนาจไว้จึงไม่มีอำนาจใดๆ นับแต่เวลา 14.00 น. วันที่ 15 เมษายนเป็นต้นไป การที่คณะรัฐมนตรีประชุมกันวันที่ 17 เมษายน ซึ่งเลยมาแล้วถึง 5 วันจึงค่อยมาให้การรับรองหรือเห็นชอบจึงไม่เป็นไปตามบทบัญญัติมาตรา 5
ปัญหาอยู่ที่ว่า หลังจากผ่านเวลา 14.00 น. วันที่ 15 เมษายนไปแล้ว โดยคณะรัฐมนตรีไม่ได้ให้ความเห็นชอบกับการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่นายกรัฐมนตรีประกาศไปก่อน การใช้อำนาจของเจ้าหน้าที่ทั้งหลายซึ่งขัดต่อ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 มาตรา 5 ที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิทธิเสรีภาพของประชาชนในหลายมาตราของรัฐธรรมนูญดังที่ได้อ้างไว้ในประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ใครต้องรับผิดชอบ และรับผิดชอบอย่างไร องค์กรใดจะเป็นผู้บังคับให้ต้องรับผิดชอบและวุฒิสภาจะดำเนินการถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองฐานกระทำในสิ่งที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญและกฎหมายได้หรือไม่
อย่างไรก็ตาม บรรดานักกฎหมายในกระบวนการยุติธรรมและนักวิชาการด้านนิติศาสตร์ควรจะนำเสนอความเห็นทางวิชาการต่อสาธารณะและดูการปฏิบัติของคณะรัฐมนตรีตั้งแต่สมัย พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี ต่อเนื่องมาถึงนายสมัคร สุนทรเวช และนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เมื่อประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินได้กระทำไปอย่างไร เหมือนหรือแตกต่างจากรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ โดยถือเอามาตรา 5 เป็นตัวตั้ง
หนึ่งในผลกระทบที่ควรพิจารณาจากการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินก็คือ การตัดสัญญาณของสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม D STATION หรือสถานีประชาธิปไตยที่ข้อเท็จจริงจากคำให้สัมภาษณ์ของนายอภิสิทธิ์และนายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีบอกว่าอาศัยอำนาจตามพระราชกำหนดสถานการณ์ฉุกเฉิน ซึ่งนอกจากจะแตกต่างกับ ASTV ที่รัฐบาลนายสมัครต้องการจะตัดสัญญาณแต่ทำไม่ได้แล้วยังมีประเด็นที่ต้องถกเถียงกันอีกว่า การที่ D STATION เป็นโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม (ไม่ใช้คลื่นความถี่) ซึ่งเป็นสื่อสมัยใหม่ที่กฎหมายยังตามไม่ทัน การที่รัฐธรรมนูญมาตรา 45 คุ้มครองเสรีภาพสื่อมวลชนทุกแขนง ห้ามรัฐปิดหนังสือพิมพ์และปิดกิจการสื่อมวลชนอื่นๆ ในส่วนของการเซ็นเซอร์ข่าวของสื่อมวลชนกระทำได้แต่เฉพาะเวลาประเทศอยู่ในภาวะสงครามเท่านั้น
การที่ D STATION ออกอากาศไม่ได้และหน้าจอมีข้อความว่า "ขออภัยทางสถานีดาวเทียมไทยคมมีความจำเป็นต้องตัดสัญญาณ D STATION ตามคำสั่งของรัฐบาล ใน พ.ร.ก.ฉุกเฉิน" ตั้งแต่เย็นวันที่ 12 เมษายนมาจนถึงบัดนี้จึงเป็นหน้าที่ของรัฐบาลที่ต้องชี้แจงว่า การที่สถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมช่องนี้ออกอากาศไม่ได้เป็นเพราะรัฐบาลไปสั่งปิด ไปตัดสัญญาณโดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายใด อย่างไร และขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่
นายอภิสิทธิ์ยืนยันตลอดเวลาว่า รัฐบาลใช้กฎหมายอย่างเป็นธรรมกับทุกคน ทุกฝ่าย แม้กระนั้นคนอีกฝ่าย โดยเฉพาะคนเสื้อแดงก็ยังตอบโต้ว่า ไม่จริง พร้อมกับยกตัวอย่างมาแสดงหลายกรณีที่มีลักษณะ "2 มาตรฐาน" ดังจะเห็นได้จากการอภิปรายของ ส.ส.พรรคเพื่อไทยในที่ประชุมร่วมรัฐสภา 2 วัน 2 คืนเมื่อวันที่ 23-24 เมษายนจากเหตุประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่ร้ายแรงในกรุงเทพฯ และ 5 จังหวัดปริมณฑลจึงเป็นอีกเงื่อนปมหนึ่งที่นักวิชาการด้านกฎหมายและองค์กรวิชาชีพสื่อมวลชนที่เป็นกลางและยึดถือเอาความเป็นธรรมอยู่เหนือสิ่งอื่นใด ไม่เป็นสื่อที่เลือกข้างจะได้พิจารณาว่า การใช้อำนาจของรัฐบาลดำเนินไปโดยชอบตาม พ.ร.ก.ฉุกเฉินหรือไม่
หน้า 7
URL : http://www.matichon.co.th/matichon/view_news.php?newsid=01act02210552§ionid=0130&day=2009-05-21
ใช้อำนาจถูกต้องหรือไม่
โดย บุญเลิศ ช้างใหญ่
ในประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงในกรุงเทพฯ และ 5 จังหวัดปริมณฑล ที่ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีลงนามเมื่อเวลาประมาณ 14.00 น. วันที่ 12 เมษายน 2552 โดยแถลงผ่านโทรทัศน์นั้น หลังจากกล่าวถึงสภาพการณ์ปัญหาความวุ่นวายอันเนื่องมาจากการชุมนุมของคนเสื้อแดงและการปฏิบัติการต่างๆ ในย่อหน้าก่อนสุดท้ายได้ระบุว่า "อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 5 และมาตรา 11 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 อันเป็นกฎหมายที่บัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบด้วยมาตรา 32 มาตรา 33 มาตรา 34 มาตรา 36 มาตรา 38 มาตรา 41 มาตรา 43 มาตรา 45 และมาตรา 63 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย นายกรัฐมนตรีจึงให้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงในเขตท้องที่..... .........ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป"
เมื่ออาศัยอำนาจตามมาตรา 5 และมาตรา 11 ของ พ.ร.ก.ฉุกเฉินในการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่ร้ายแรงในกรุงเทพฯ และ 5 จังหวัดปริมณฑล จึงต้องไปดูว่า มาตรา 5 และมาตรา 11 บัญญัติไว้อย่างไร
มาตรา 5 เมื่อปรากฏว่ามีสถานการณ์ฉุกเฉินเกิดขึ้นและนายกรัฐมนตรีเห็นสมควรใช้กำลังเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองหรือตำรวจ เจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือนหรือเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารร่วมกันป้องกัน แก้ไข ปราบปราม ระงับยับยั้ง ฟื้นฟู หรือช่วยเหลือประชาชน ให้นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี มีอำนาจประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินเพื่อบังคับใช้ทั่วราชอาณาจักร หรือในบางเขตบางท้องที่ได้ตามความจำเป็นแห่งสถานการณ์ ในกรณีที่ไม่อาจขอความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีได้ทันท่วงที นายกรัฐมนตรีอาจประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินไปก่อน แล้วดำเนินการให้ได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีภายในเวลาที่กำหนด หรือคณะรัฐมนตรีไม่ให้ความเห็นชอบ ให้การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินดังกล่าวเป็นอันสิ้นสุดลง
การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินตามวรรคหนึ่ง ให้ใช้บังคับตลอดระยะเวลาที่นายกรัฐมนตรีกำหนด แต่ต้องไม่เกินสามเดือนนับแต่วันประกาศ ในกรณีที่มีความจำเป็นต้องขยายระยะเวลา ให้นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีมีอำนาจประกาศขยายระยะเวลาการใช้บังคับออกไปอีกเป็นคราวๆ คราวละไม่เกินสามเดือน
เมื่อสถานการณ์ฉุกเฉินสิ้นสุดลงแล้ว หรือเมื่อคณะรัฐมนตรีไม่ให้ความเห็นชอบ หรือเมื่อสิ้นสุดกำหนดเวลาตามวรรคสอง ให้นายกรัฐมนตรีประกาศยกเลิกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน
ส่วนมาตรา 11 เป็นการให้อำนาจนายกรัฐมนตรี 11 ประการ
เมื่อพิจารณาจากมาตรา 5 ประเด็นปัญหาอยู่ตรงที่การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินวันที่ 12 เมษายนที่กระทรวงมหาดไทยนั้น นายกรัฐมนตรีประกาศไปเองหรือผ่านความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี
โดยข้อเท็จจริง นายกรัฐมนตรีได้ใช้กระทรวงมหาดไทยเป็นสถานที่ประชุมร่วมกับผู้นำทหาร มีรัฐมนตรีมาร่วม 6 คน จากทั้งหมด 35 คน ใครก็ตามที่อ้างว่า รัฐมนตรี 6 คนก็เป็นองค์ประชุมที่สามารถให้ความเห็นชอบได้แล้ว จะต้องมีกฎหมายหรือธรรมเนียมปฏิบัติมาอธิบายให้ชัดเจน หาไม่แล้วจะทำให้หลักการประชุมของคณะรัฐมนตรีและการให้ความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีเบี่ยงเบนไปตามอำเภอใจของนายกรัฐมนตรีซึ่งเป็นสิ่งไม่ถูกต้องและไม่อาจยอมรับได้ เพราะเท่ากับยอมรับให้คณะรัฐมนตรีซึ่งเป็นองค์กรของคณะผู้บริหารประเทศเดินไปบนความสุ่มเสี่ยงเนื่องจากการตัดสินใจด้วยคนไม่กี่คน
เมื่อนายกรัฐมนตรีประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินไปก่อนเพราะไม่อาจขอความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีได้ทันท่วงที ในมาตรา 5 นั้นเองก็บัญญัติว่าจะต้องดำเนินการให้ได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีภายใน 3 วัน (ครบกำหนดเวลาประมาณ 14.00 น. วันที่ 15 เมษายน) ซึ่งก็ไม่ปรากฏว่าคณะรัฐมนตรีจะมีการประชุมแต่ประการใด ดังนั้น การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินจึงต้องสิ้นสุดลง นายกรัฐมนตรีและเจ้าหน้าที่ที่นายกรัฐมนตรีออกคำสั่งแต่งตั้งพร้อมกับให้มีอำนาจไว้จึงไม่มีอำนาจใดๆ นับแต่เวลา 14.00 น. วันที่ 15 เมษายนเป็นต้นไป การที่คณะรัฐมนตรีประชุมกันวันที่ 17 เมษายน ซึ่งเลยมาแล้วถึง 5 วันจึงค่อยมาให้การรับรองหรือเห็นชอบจึงไม่เป็นไปตามบทบัญญัติมาตรา 5
ปัญหาอยู่ที่ว่า หลังจากผ่านเวลา 14.00 น. วันที่ 15 เมษายนไปแล้ว โดยคณะรัฐมนตรีไม่ได้ให้ความเห็นชอบกับการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่นายกรัฐมนตรีประกาศไปก่อน การใช้อำนาจของเจ้าหน้าที่ทั้งหลายซึ่งขัดต่อ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 มาตรา 5 ที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิทธิเสรีภาพของประชาชนในหลายมาตราของรัฐธรรมนูญดังที่ได้อ้างไว้ในประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ใครต้องรับผิดชอบ และรับผิดชอบอย่างไร องค์กรใดจะเป็นผู้บังคับให้ต้องรับผิดชอบและวุฒิสภาจะดำเนินการถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองฐานกระทำในสิ่งที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญและกฎหมายได้หรือไม่
อย่างไรก็ตาม บรรดานักกฎหมายในกระบวนการยุติธรรมและนักวิชาการด้านนิติศาสตร์ควรจะนำเสนอความเห็นทางวิชาการต่อสาธารณะและดูการปฏิบัติของคณะรัฐมนตรีตั้งแต่สมัย พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี ต่อเนื่องมาถึงนายสมัคร สุนทรเวช และนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เมื่อประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินได้กระทำไปอย่างไร เหมือนหรือแตกต่างจากรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ โดยถือเอามาตรา 5 เป็นตัวตั้ง
หนึ่งในผลกระทบที่ควรพิจารณาจากการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินก็คือ การตัดสัญญาณของสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม D STATION หรือสถานีประชาธิปไตยที่ข้อเท็จจริงจากคำให้สัมภาษณ์ของนายอภิสิทธิ์และนายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีบอกว่าอาศัยอำนาจตามพระราชกำหนดสถานการณ์ฉุกเฉิน ซึ่งนอกจากจะแตกต่างกับ ASTV ที่รัฐบาลนายสมัครต้องการจะตัดสัญญาณแต่ทำไม่ได้แล้วยังมีประเด็นที่ต้องถกเถียงกันอีกว่า การที่ D STATION เป็นโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม (ไม่ใช้คลื่นความถี่) ซึ่งเป็นสื่อสมัยใหม่ที่กฎหมายยังตามไม่ทัน การที่รัฐธรรมนูญมาตรา 45 คุ้มครองเสรีภาพสื่อมวลชนทุกแขนง ห้ามรัฐปิดหนังสือพิมพ์และปิดกิจการสื่อมวลชนอื่นๆ ในส่วนของการเซ็นเซอร์ข่าวของสื่อมวลชนกระทำได้แต่เฉพาะเวลาประเทศอยู่ในภาวะสงครามเท่านั้น
การที่ D STATION ออกอากาศไม่ได้และหน้าจอมีข้อความว่า "ขออภัยทางสถานีดาวเทียมไทยคมมีความจำเป็นต้องตัดสัญญาณ D STATION ตามคำสั่งของรัฐบาล ใน พ.ร.ก.ฉุกเฉิน" ตั้งแต่เย็นวันที่ 12 เมษายนมาจนถึงบัดนี้จึงเป็นหน้าที่ของรัฐบาลที่ต้องชี้แจงว่า การที่สถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมช่องนี้ออกอากาศไม่ได้เป็นเพราะรัฐบาลไปสั่งปิด ไปตัดสัญญาณโดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายใด อย่างไร และขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่
นายอภิสิทธิ์ยืนยันตลอดเวลาว่า รัฐบาลใช้กฎหมายอย่างเป็นธรรมกับทุกคน ทุกฝ่าย แม้กระนั้นคนอีกฝ่าย โดยเฉพาะคนเสื้อแดงก็ยังตอบโต้ว่า ไม่จริง พร้อมกับยกตัวอย่างมาแสดงหลายกรณีที่มีลักษณะ "2 มาตรฐาน" ดังจะเห็นได้จากการอภิปรายของ ส.ส.พรรคเพื่อไทยในที่ประชุมร่วมรัฐสภา 2 วัน 2 คืนเมื่อวันที่ 23-24 เมษายนจากเหตุประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่ร้ายแรงในกรุงเทพฯ และ 5 จังหวัดปริมณฑลจึงเป็นอีกเงื่อนปมหนึ่งที่นักวิชาการด้านกฎหมายและองค์กรวิชาชีพสื่อมวลชนที่เป็นกลางและยึดถือเอาความเป็นธรรมอยู่เหนือสิ่งอื่นใด ไม่เป็นสื่อที่เลือกข้างจะได้พิจารณาว่า การใช้อำนาจของรัฐบาลดำเนินไปโดยชอบตาม พ.ร.ก.ฉุกเฉินหรือไม่
หน้า 7
URL : http://www.matichon.co.th/matichon/view_news.php?newsid=01act02210552§ionid=0130&day=2009-05-21
ทำไมจึงตุลาการภิวัตน์ ไทยรัฐเช้านี้
ผู้ที่ติดตามข่าวเกี่ยวกับการแก้ไขรัฐธรรมนูญ คงจะเห็นได้ว่ามีแนวความคิดที่จะแก้ไขกฎหมายสูงสุดของประเทศ ในหลากหลายประเด็น ตัวแทนของพรรคการเมืองบางพรรคเสนอให้ยุบศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ให้ลดอำนาจคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ไม่ให้มีอำนาจให้ใบแดงหรือใบเหลือง และให้ลดอำนาจศาลรัฐธรรมนูญ ไม่ให้มีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยคดี
ส่วนแนวทางการสร้างความสมานฉันท์ ผู้แทนพรรคการเมืองบางพรรคเสนอให้ฝ่ายตุลาการ หรือผู้พิพากษากลับคืนศาล และให้ทหารกลับคืนกรมกอง ไม่ทราบว่าทั้งสองประเด็นจะต้องแก้ไขรัฐธรรมนูญหรือไม่ แต่ก็เป็นแนวความคิดที่มีรากฐานเดียวกันกับการเสนอให้ลดอำนาจองค์กรอิสระ ศาลฎีกานักการเมือง และศาลรัฐธรรมนูญ นั่นก็คืออ้างว่าฝ่ายตุลาการไม่ได้มาจากประชาชน จึงไม่ควรมีอำนาจถอดถอนผู้ที่มาจากการเลือกตั้ง
กล่าวโดยสรุป ข้อเสนอทั้งสอง ประเด็น คือการลดอำนาจศาลรัฐธรรมนูญ กกต.และการยุบศาลฎีกาแผนกคดีอาญานักการเมือง มีวัตถุประสงค์ที่ตรงกันคือ การล้มเลิกปรากฏการณ์ใหม่ในทางการเมือง ที่เรียกกันว่า "ตุลาการภิวัตน์" นั่นก็คือการให้ฝ่ายตุลาการมีบทบาทและอำนาจทางการเมืองมากขึ้น ด้วยการเป็นกรรมการสรรหาองค์กรอิสระต่างๆ และมีอำนาจวินิจฉัยให้นักการ-เมืองพ้นจากตำแหน่ง
ฝ่ายตุลาการเป็น 1 ใน 3 ของอำนาจในการปกครองประเทศ ทำหน้าที่ตรวจ สอบและถ่วงดุลซึ่งกันและกัน อำนาจทั้งสามได้แก่อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหารและอำนาจตุลาการ ในประเทศประชาธิปไตยส่วนใหญ่ อำนาจสามฝ่ายทำหน้าที่ตรวจสอบและถ่วงดุลซึ่งกันและกัน อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ในประเทศไทย ฝ่ายที่คุมอำนาจนิติบัญญัติคือ เสียงข้างมากในสภา มักจะไม่ตรวจสอบฝ่ายบริหาร
เหตุผลสำคัญที่ทำให้เสียงข้างมากในสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งเป็นผู้กุมอำนาจนิติบัญญัติไม่ตรวจสอบฝ่ายบริหารหรือรัฐบาลอย่างจริงจัง หรือตรวจสอบแค่พอเป็นพิธี เนื่องจากทั้งสองฝ่ายเป็น "พวก" เดียวกัน เพราะเสียงข้างมากในสภาคือผู้จัดตั้งรัฐบาล และผู้ใช้อำนาจบริหารคือนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีส่วนใหญ่ ล้วนแต่เป็นระดับ "ผู้นำ" ในพรรค และเป็น "ลูกพี่" ของ ส.ส. ลูกน้องจึงไม่กล้าตรวจสอบลูกพี่
ยิ่งกว่านั้น ในอดีต แม้ฝ่ายตุลาการจะมีอำนาจในการตรวจสอบการใช้อำนาจของฝ่ายนิติบัญญัติและบริหาร แต่มักจะไม่มีคดีความเกี่ยวกับนักการเมือง ไปให้ศาลพิจารณาตัดสิน คณะผู้ร่างรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2540 เป็นต้นมา มองเห็นจุดบกพร่องนี้ จึงเขียนรัฐธรรมนูญให้ฝ่ายตุลาการมีบทบาทมากขึ้น ทั้งในศาลรัฐธรรมนูญ องค์กรอิสระต่างๆ รวมทั้งให้มีศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
ถ้าหากนักการเมืองเป็นนักประชาธิปไตยแท้ เคารพและปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญและกฎหมายโดยเคร่งครัด ไม่ซื้อเสียงและใช้อำนาจอิทธิพล เพื่อให้ชนะเลือกตั้งโดยทุกวิถีทาง ไม่ใช้ อำนาจการเมืองและอำนาจเงิน เข้าไปแทรกแซงองค์กรผู้ตรวจสอบ เพื่อเปิดทางให้ใช้อำนาจในทางที่ผิดได้โดยเสรี ก็อาจไม่จำเป็นที่จะต้องมี "ตุลาการภิวัตน์" ศาลก็จะเพียงแต่ทำหน้าที่ตรวจสอบ เมื่อมีคดีไปสู่ศาล.
ไทยรัฐออนไลน์โดย ทีมข่าวการเมือง
23 พฤษภาคม 2552, 05:00 น.
ส่วนแนวทางการสร้างความสมานฉันท์ ผู้แทนพรรคการเมืองบางพรรคเสนอให้ฝ่ายตุลาการ หรือผู้พิพากษากลับคืนศาล และให้ทหารกลับคืนกรมกอง ไม่ทราบว่าทั้งสองประเด็นจะต้องแก้ไขรัฐธรรมนูญหรือไม่ แต่ก็เป็นแนวความคิดที่มีรากฐานเดียวกันกับการเสนอให้ลดอำนาจองค์กรอิสระ ศาลฎีกานักการเมือง และศาลรัฐธรรมนูญ นั่นก็คืออ้างว่าฝ่ายตุลาการไม่ได้มาจากประชาชน จึงไม่ควรมีอำนาจถอดถอนผู้ที่มาจากการเลือกตั้ง
กล่าวโดยสรุป ข้อเสนอทั้งสอง ประเด็น คือการลดอำนาจศาลรัฐธรรมนูญ กกต.และการยุบศาลฎีกาแผนกคดีอาญานักการเมือง มีวัตถุประสงค์ที่ตรงกันคือ การล้มเลิกปรากฏการณ์ใหม่ในทางการเมือง ที่เรียกกันว่า "ตุลาการภิวัตน์" นั่นก็คือการให้ฝ่ายตุลาการมีบทบาทและอำนาจทางการเมืองมากขึ้น ด้วยการเป็นกรรมการสรรหาองค์กรอิสระต่างๆ และมีอำนาจวินิจฉัยให้นักการ-เมืองพ้นจากตำแหน่ง
ฝ่ายตุลาการเป็น 1 ใน 3 ของอำนาจในการปกครองประเทศ ทำหน้าที่ตรวจ สอบและถ่วงดุลซึ่งกันและกัน อำนาจทั้งสามได้แก่อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหารและอำนาจตุลาการ ในประเทศประชาธิปไตยส่วนใหญ่ อำนาจสามฝ่ายทำหน้าที่ตรวจสอบและถ่วงดุลซึ่งกันและกัน อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ในประเทศไทย ฝ่ายที่คุมอำนาจนิติบัญญัติคือ เสียงข้างมากในสภา มักจะไม่ตรวจสอบฝ่ายบริหาร
เหตุผลสำคัญที่ทำให้เสียงข้างมากในสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งเป็นผู้กุมอำนาจนิติบัญญัติไม่ตรวจสอบฝ่ายบริหารหรือรัฐบาลอย่างจริงจัง หรือตรวจสอบแค่พอเป็นพิธี เนื่องจากทั้งสองฝ่ายเป็น "พวก" เดียวกัน เพราะเสียงข้างมากในสภาคือผู้จัดตั้งรัฐบาล และผู้ใช้อำนาจบริหารคือนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีส่วนใหญ่ ล้วนแต่เป็นระดับ "ผู้นำ" ในพรรค และเป็น "ลูกพี่" ของ ส.ส. ลูกน้องจึงไม่กล้าตรวจสอบลูกพี่
ยิ่งกว่านั้น ในอดีต แม้ฝ่ายตุลาการจะมีอำนาจในการตรวจสอบการใช้อำนาจของฝ่ายนิติบัญญัติและบริหาร แต่มักจะไม่มีคดีความเกี่ยวกับนักการเมือง ไปให้ศาลพิจารณาตัดสิน คณะผู้ร่างรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2540 เป็นต้นมา มองเห็นจุดบกพร่องนี้ จึงเขียนรัฐธรรมนูญให้ฝ่ายตุลาการมีบทบาทมากขึ้น ทั้งในศาลรัฐธรรมนูญ องค์กรอิสระต่างๆ รวมทั้งให้มีศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
ถ้าหากนักการเมืองเป็นนักประชาธิปไตยแท้ เคารพและปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญและกฎหมายโดยเคร่งครัด ไม่ซื้อเสียงและใช้อำนาจอิทธิพล เพื่อให้ชนะเลือกตั้งโดยทุกวิถีทาง ไม่ใช้ อำนาจการเมืองและอำนาจเงิน เข้าไปแทรกแซงองค์กรผู้ตรวจสอบ เพื่อเปิดทางให้ใช้อำนาจในทางที่ผิดได้โดยเสรี ก็อาจไม่จำเป็นที่จะต้องมี "ตุลาการภิวัตน์" ศาลก็จะเพียงแต่ทำหน้าที่ตรวจสอบ เมื่อมีคดีไปสู่ศาล.
ไทยรัฐออนไลน์โดย ทีมข่าวการเมือง
23 พฤษภาคม 2552, 05:00 น.
Monday, May 18, 2009
People Channels
People Channels แค่เห็นก็ชื่นใจ
หลังจากหาช่องทางมากมายที่ต่อสู้เพื่อให้ สถานี D Station กลับคืน ทั้งทางกฏหมาย ทั้งกดดันในสภา และนอกสภา วันนี้เราได้รับข่าวดีแล้ว ทราบจากแกนนำเราเช่าช่องดาวเทียมทาง HK อีกดวง เพื่อหลีกเลี่ยงสองกะบวนการมาตรฐานในเมืองไทย
ท่านที่ติดจานเล็ก ที่มีหัวรับ LNB C Band รับดาวเทียม NSS-6(Ku)
ให้เปิด ASTV New 1 แล้วกดแก้ไข แล้วไปปรับ
สัญญาน VDO ที่ 531
AUDIO 787
PCR 531
นะครับ
ส่วนจานดำยังอยู่ที่เดิมครับ ที่ Thaicom 2/5 ตอนนี้ยังขึ้น หน้าเขียว ตัวหนังสือแดงอยู่เหมือนเดิมครับ
Saturday, May 16, 2009
18 May D day นะครับ
วันจันทร์ที่ 18 พฤษภาคม นี้ ที่เก่าเวลาเดิม D Station นะครับพี่น้อง กลับมาแล้วมั่นคงกว่าเดิม รอรับชมนะครับ
Tuesday, May 12, 2009
เจ้าของตะขาบตัวโตบนศรีษะ กับสุภาพสตรีคนนั้น คนไหน ดูเอง
กลุ่มต่อต้านการเมืองใหม่...มันก็ทุกพรรคการเมือง บวกผู้เสียผลประโยชน์ด้วย
สุภาพสตรีคนหนึ่ง... อันนี้หมายถึงสตรีแท้หรือเทียม ลิ้มเอ้ย...
ตอบแบบนี้ใครก็ตอบได้ นึกแล้วเชียว ไม่แน่จริงนี่หว่า เอิ๊ก เอิ๊ก เอิ๊ก ไปแคะขนมครกดีกว่าเลิกอาชีพนี้ไปได้เลย
มันก็ใช้วิธี คิดเอง เออเอง พูดมั่วๆไปวันๆ อย่างที่มันทำมาตลอดนั่นแหละ ตานี้ ละเมิง ตายแน่ พระที่ไหนก็ช่วยไม่ได้ 5555555
เศร้าแทนลิ้มเอ้ยยย...
ริมหน้าต่างชั้นสองของบ้านพระอาทิตย์ย่านบางลำพู ... ดวงจันทร์ส่องสว่างไร้เมฆบดบัง แสงจันทร์สาดต้องใบหน้าชายอ้วนผิวขาววัย 60 เศษ ... ฉายให้เห็นรอยแผลผ่าตัดรูปคล้ายตะขาบตัวโตบนศรีษะ แต่แววตาเจ้าของรอยแผลกลับหม่นหมองนัก ... สายตาเหม่อลอย ครุ่นคิดคำนึงอย่างเดียวดาย ... ท่านไม่น่าทำกับผมขนาดนี้เลย ผมอุตส่าห์ขับไล่ทักษิณเพื่อท่าน ... ผมอาจพูดมาก แต่ทำไปเพราะน้อยใจในวาสนาของตนเอง ... ท่านสัญญากับผมมากมาย หลังการต่อสู้ผมกลับถูกกีดกัน ... ตอนแรกผมกะจะเปิดโปงความจริงทุกอย่างในวันนี้ ... แต่เมื่อท่านขอร้อง ผมก็ยอมเลื่อน ท่านอยากให้ผมโยนความผิดให้คนอื่น... ผมจะทำตามนั้น ขอเพียงให้ท่านไว้ชีวิต ขอเพียงมีอายุยืนยาวดูแลหลานน่ารัก ... ผมสัญญา ผมจะเก็บทุกอย่างเป็นความลับ รับรองท่านจะไม่เสียหาย ... ลมโชยพัดกลิ่นหอมของดอกแก้วที่ลานบ้านมาตามระเบียง ... บรรยากาศเยี่ยงนี้กลับปรากฎหยาดน้ำตาของชายอ้วนไหลอยู่ไม่ขาดสาย
กัมพูชาถูกมองว่าด้อยกว่าไทยในการรบตามรูปแบบ ถ้าเป็นการรบแบบกองโจร ไทยอาจตกอยู่ในสถานการณ์ลำบาก
กองทัพไทย มีแสนยานุภาพเหนือกว่ากัมพูชา ด้วยกำลังทหาร 3 แสนนาย + ยุทโธปกรณ์ที่ทันสมัย
ยุทโธปกรณ์ของกองทัพบก ส่วนหนึ่งได้รับการช่วยเหลือตามโครงการ JUSMAG ของสหรัฐอเมริกา
อาวุธปืน : มีตั้งแต่ปืนพก ปืนเล็กยาว ปืนกล ไปจนถึงเครื่องยิงจรวดต่อต้านรถถัง
ปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน : ที่น่าสนใจคือ Bofors L40/70 ของสวีเดน ที่เหลือเป็นของสหรัฐและจีน
อาวุธปืนประจำกายของทหารไทยส่วนใหญ่ซื้อจากสหรัฐ อิสราเอล รัสเซีย ออสเตรีย เบลเยียม และเยอรมนี
ปืนใหญ่ซื้อจาก สหรัฐ ฝรั่งเศส อิสราเอล แคนาดา อังกฤษ จีน
ปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน ซื้อจากสวีเดน จีน และสหรัฐ
ยุทธยานยนต์ : รถถังหลัก (USA) M-60A 1/A3178 คัน , M-48A5 105 คัน , (จีน) Type 6911 (ลอกจาก T-55 ของโซเวียต ) กว่า 50 คัน
รถถังเบา (USA) Commando Stingray จำนวน 106 คัน , M 41A2 Walker Bulldog 200 คัน
รถถังเบา (อังกฤษ) Scorpion CVR 154 คัน
รถสายพานลำเลียงหุ้มเกราะ
BTR-3EI (ยูเครน) 96 คัน
รถส่งกำลังบำรุง (USA) M11A1/A3 และ M 577A3 จำนวน 340 คัน ,
รถหุ้มเกราะ Commando (M706) 138 คัน
Condor (เยอรมนี) 18 คัน , รถลาดตระเวณจับเรดาร์ Rasit
YW 531 H (จีน) 450 คัน
รถหุ้มเกราะ REVA 4x4 (แอฟริกาใต้)
รถหุ้มเกราะ Alvis Saracent (อังกฤษ)
แสนยานุภาพทางอากาศ
อากาศยาน : เต็มไปด้วยอากาศยานชั้นเลิศ รวมทั้งอากาศยานยอดนิยมของโลกอย่าง Chinook , Cobra, blackhawk, CESSNA
นอกจากนี้ ยังมีเครื่องบินตรวจการณ์ที่ซื้อจากอิสราเอล และเฮลิคอปเตอร์โจมตีที่ซื้อจากเยอรมนี, ฝรั่งเศส และสวิสเซอร์แลนด์
เครื่องบินลำเลียง นอกจาก c-130 แล้ว ยังมี BT-67 ของสหรัฐ , Nomad ของออสเตรเลีย, G.222 ของอิตาลี และ HS-748 ของอังกฤษ , Airbus ของสหภาพยุโรป และ Saab ของสวีเดน
แสนยานุภาพทางทะเล
เขี้ยวเล็บของกองทัพเรือไทย ประกอบด้วย
เรือบรรทุกเครื่องบิน 1 ลำ
เรือฟรีเกต 10 ลำ
เรื่อคอร์เวต 7 ลำ
เรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง 2 ลำ
เรือตรวจการณ์ 26 ลำ
เรือเร็วโจมตีเร็วอาวุธปล่อยนำวิถี 6 ลำ
เรือโจมตีลำเลียงพล 9 ลำ
เรือเร็วตรวจการณ์ลำน้ำโขง 77 ลำ
เรือช่วยรบ 15 ลำ
เรือวางทุ่นระเบิด 7 ลำ
กองบินทหารเรือ : กำลังพล 1,700 นาย , เครื่องบินรบ 44 ลำ ,เฮลิคอปเตอร์ลำเลียง 14 ลำ
เฮลิคอปเตอร์ต่อต้านเรือผิวน้ำ 8 ลำ และนาวิกโยธิน 18,000 นาย
หน่วยซีล เป็นหน่วยทำลายใต้น้ำจู่โจม รวม 144 นาย มีอาวุธประจำเรือคือ ปืน HK G36C
แสนยานุภาพของกองทัพกัมพูชา
กองทัพกัมพูชา ถูกมองว่าด้อยกว่าไทยในเรื่องกำลังทางยุทธยานยนต์ และล้าสมัย
ยุทโธปกรณ์หลัก คือเครื่องบินรบ MIG-21 ที่มีประมาณ 2-3 ลำ มีเฮลิคอปเตอร์ขนส่งเก่า ๆ ตั้งแต่สมัยโซเวียตอยู่จำนวนหนึ่ง
กำลังพลของกัมพูชาไม่เป็นที่แน่ชัด อยู่ระหว่าง 70,000 - 130,00 นาย
กองทัพบก มีกำลังพลราว 40,000 นาย
กองพลทหารราบ 6 กองพล
มีกรมทหารราบอิสระ 3 กรม
กรมทหารม้า 1 กรม
กรมยานเกราะ 3 กรม
มีหน่วยรบย่อย ๆ ที่เป็นอิสระและแตกเป็นกลุ่มอีกประมาณ 60 กลุ่ม รวมทั้งหน่วยรบพิเศษ
กองพันรถถัง 4 กองพัน
ยุทโธปกรณ์ : มีปืนเล็ก จนถึงปืนใหญ่ ขีนาวุธจากพื้น-สู่-อากาศ SA-7
กองทัพเรือ มีกำลังพลราว ๆ 950 นาย
เรือลาดตระเวณสมัยสหภาพโซเวียต
TURYA - 2 ลำ
STENKA - 2 ลำ
ZHUK - 2 ลำ
เรือลาดตระเวณในแม่น้ำ KAND - 5 ลำ
HDML - 1
SHMEL - 4
T-4 - 2 ลำ
กองทัพอากาศ
มีบุคลากรประมาณ 1,000 นาย
อากาศยานของกัมพูชา แต่ปัจจุบันไม่ทราบว่ายังใช้ได้กี่ลำ
เครื่องบินขับไล่ MIG-21 จำนวน 22 ลำ
เครื่องบินลำเลียง An-2 และ An-24 จำนวนหนึ่ง
เฮลิคอปเตอร์ Mi-8 จำนวน 3 ลำ, Mi-17 จำนวน 6 ลำ
เครื่องบินขับไล่ F-6 จำนวน 5 ลำ
เครื่องบินมือสองจากโอมาน BN DEFENDER จำนวน 2 ลำ
ฐานทัพอากาศสำคัญของกัมพูชา อยู่ที่ นครวัด พระตะบอง โพเชนตง และเสียมราฐ
ถ้ามีการเปิดศึกสงครามกันอย่างเต็มรูปแบบ จะไม่เป็นปัญหาสำหรับกองทัพไทย แต่กองทัพไทย
จะเผชิญปัญหา ถ้าสงครามขยายไปสู่การสู้รบแบบกองโจร ที่มีลักษณะใกล้เคียงกับสงคราม
ชายแดนในปี 2530-2531 ระหว่างไทยกับลาว ที่รู้จักกันในชื่อ ยุทธภูมิร่มเกล้า ที่จบลงด้วยการที่
กองทัพไทยสูญเสียกำลังพลไปเป็นจำนวนมาก
ทหารกัมพูชา มีความคล้ายคลึงกับทหารลาว คือ ขาดอาวุธและได้รับเงินน้อย แต่ทหารกัมพูชาส่วนใหญ่เคยเป็นทหารเขมรแดง ที่ขึ้นชื่อเรื่องความเชี่ยวชาญในการรบ พวกนี้ยังมีความอดทนและเหี้ยมเกรียมอยู่มาก อีกทั้งยังคุ้นเคยกับการทำสงครามนอกรูปแบบอีกด้วย
นอกจากนี้ ยังมีอุปสรรคจากกับระเบิด ที่ตกค้างมาตั้งแต่สมัยสงครามกลางเมือง อาจสร้างปัญหาในการรุกคืบของทหารไทย และทำให้เกิดการเสียชีวิตและบาดเจ็บได้
ยุทโธปกรณ์ของกองทัพบก ส่วนหนึ่งได้รับการช่วยเหลือตามโครงการ JUSMAG ของสหรัฐอเมริกา
อาวุธปืน : มีตั้งแต่ปืนพก ปืนเล็กยาว ปืนกล ไปจนถึงเครื่องยิงจรวดต่อต้านรถถัง
ปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน : ที่น่าสนใจคือ Bofors L40/70 ของสวีเดน ที่เหลือเป็นของสหรัฐและจีน
อาวุธปืนประจำกายของทหารไทยส่วนใหญ่ซื้อจากสหรัฐ อิสราเอล รัสเซีย ออสเตรีย เบลเยียม และเยอรมนี
ปืนใหญ่ซื้อจาก สหรัฐ ฝรั่งเศส อิสราเอล แคนาดา อังกฤษ จีน
ปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน ซื้อจากสวีเดน จีน และสหรัฐ
ยุทธยานยนต์ : รถถังหลัก (USA) M-60A 1/A3178 คัน , M-48A5 105 คัน , (จีน) Type 6911 (ลอกจาก T-55 ของโซเวียต ) กว่า 50 คัน
รถถังเบา (USA) Commando Stingray จำนวน 106 คัน , M 41A2 Walker Bulldog 200 คัน
รถถังเบา (อังกฤษ) Scorpion CVR 154 คัน
รถสายพานลำเลียงหุ้มเกราะ
BTR-3EI (ยูเครน) 96 คัน
รถส่งกำลังบำรุง (USA) M11A1/A3 และ M 577A3 จำนวน 340 คัน ,
รถหุ้มเกราะ Commando (M706) 138 คัน
Condor (เยอรมนี) 18 คัน , รถลาดตระเวณจับเรดาร์ Rasit
YW 531 H (จีน) 450 คัน
รถหุ้มเกราะ REVA 4x4 (แอฟริกาใต้)
รถหุ้มเกราะ Alvis Saracent (อังกฤษ)
แสนยานุภาพทางอากาศ
อากาศยาน : เต็มไปด้วยอากาศยานชั้นเลิศ รวมทั้งอากาศยานยอดนิยมของโลกอย่าง Chinook , Cobra, blackhawk, CESSNA
นอกจากนี้ ยังมีเครื่องบินตรวจการณ์ที่ซื้อจากอิสราเอล และเฮลิคอปเตอร์โจมตีที่ซื้อจากเยอรมนี, ฝรั่งเศส และสวิสเซอร์แลนด์
เครื่องบินลำเลียง นอกจาก c-130 แล้ว ยังมี BT-67 ของสหรัฐ , Nomad ของออสเตรเลีย, G.222 ของอิตาลี และ HS-748 ของอังกฤษ , Airbus ของสหภาพยุโรป และ Saab ของสวีเดน
แสนยานุภาพทางทะเล
เขี้ยวเล็บของกองทัพเรือไทย ประกอบด้วย
เรือบรรทุกเครื่องบิน 1 ลำ
เรือฟรีเกต 10 ลำ
เรื่อคอร์เวต 7 ลำ
เรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง 2 ลำ
เรือตรวจการณ์ 26 ลำ
เรือเร็วโจมตีเร็วอาวุธปล่อยนำวิถี 6 ลำ
เรือโจมตีลำเลียงพล 9 ลำ
เรือเร็วตรวจการณ์ลำน้ำโขง 77 ลำ
เรือช่วยรบ 15 ลำ
เรือวางทุ่นระเบิด 7 ลำ
กองบินทหารเรือ : กำลังพล 1,700 นาย , เครื่องบินรบ 44 ลำ ,เฮลิคอปเตอร์ลำเลียง 14 ลำ
เฮลิคอปเตอร์ต่อต้านเรือผิวน้ำ 8 ลำ และนาวิกโยธิน 18,000 นาย
หน่วยซีล เป็นหน่วยทำลายใต้น้ำจู่โจม รวม 144 นาย มีอาวุธประจำเรือคือ ปืน HK G36C
แสนยานุภาพของกองทัพกัมพูชา
กองทัพกัมพูชา ถูกมองว่าด้อยกว่าไทยในเรื่องกำลังทางยุทธยานยนต์ และล้าสมัย
ยุทโธปกรณ์หลัก คือเครื่องบินรบ MIG-21 ที่มีประมาณ 2-3 ลำ มีเฮลิคอปเตอร์ขนส่งเก่า ๆ ตั้งแต่สมัยโซเวียตอยู่จำนวนหนึ่ง
กำลังพลของกัมพูชาไม่เป็นที่แน่ชัด อยู่ระหว่าง 70,000 - 130,00 นาย
กองทัพบก มีกำลังพลราว 40,000 นาย
กองพลทหารราบ 6 กองพล
มีกรมทหารราบอิสระ 3 กรม
กรมทหารม้า 1 กรม
กรมยานเกราะ 3 กรม
มีหน่วยรบย่อย ๆ ที่เป็นอิสระและแตกเป็นกลุ่มอีกประมาณ 60 กลุ่ม รวมทั้งหน่วยรบพิเศษ
กองพันรถถัง 4 กองพัน
ยุทโธปกรณ์ : มีปืนเล็ก จนถึงปืนใหญ่ ขีนาวุธจากพื้น-สู่-อากาศ SA-7
กองทัพเรือ มีกำลังพลราว ๆ 950 นาย
เรือลาดตระเวณสมัยสหภาพโซเวียต
TURYA - 2 ลำ
STENKA - 2 ลำ
ZHUK - 2 ลำ
เรือลาดตระเวณในแม่น้ำ KAND - 5 ลำ
HDML - 1
SHMEL - 4
T-4 - 2 ลำ
กองทัพอากาศ
มีบุคลากรประมาณ 1,000 นาย
อากาศยานของกัมพูชา แต่ปัจจุบันไม่ทราบว่ายังใช้ได้กี่ลำ
เครื่องบินขับไล่ MIG-21 จำนวน 22 ลำ
เครื่องบินลำเลียง An-2 และ An-24 จำนวนหนึ่ง
เฮลิคอปเตอร์ Mi-8 จำนวน 3 ลำ, Mi-17 จำนวน 6 ลำ
เครื่องบินขับไล่ F-6 จำนวน 5 ลำ
เครื่องบินมือสองจากโอมาน BN DEFENDER จำนวน 2 ลำ
ฐานทัพอากาศสำคัญของกัมพูชา อยู่ที่ นครวัด พระตะบอง โพเชนตง และเสียมราฐ
ถ้ามีการเปิดศึกสงครามกันอย่างเต็มรูปแบบ จะไม่เป็นปัญหาสำหรับกองทัพไทย แต่กองทัพไทย
จะเผชิญปัญหา ถ้าสงครามขยายไปสู่การสู้รบแบบกองโจร ที่มีลักษณะใกล้เคียงกับสงคราม
ชายแดนในปี 2530-2531 ระหว่างไทยกับลาว ที่รู้จักกันในชื่อ ยุทธภูมิร่มเกล้า ที่จบลงด้วยการที่
กองทัพไทยสูญเสียกำลังพลไปเป็นจำนวนมาก
ทหารกัมพูชา มีความคล้ายคลึงกับทหารลาว คือ ขาดอาวุธและได้รับเงินน้อย แต่ทหารกัมพูชาส่วนใหญ่เคยเป็นทหารเขมรแดง ที่ขึ้นชื่อเรื่องความเชี่ยวชาญในการรบ พวกนี้ยังมีความอดทนและเหี้ยมเกรียมอยู่มาก อีกทั้งยังคุ้นเคยกับการทำสงครามนอกรูปแบบอีกด้วย
นอกจากนี้ ยังมีอุปสรรคจากกับระเบิด ที่ตกค้างมาตั้งแต่สมัยสงครามกลางเมือง อาจสร้างปัญหาในการรุกคืบของทหารไทย และทำให้เกิดการเสียชีวิตและบาดเจ็บได้
ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญขาดคุณสมบัติหรือไม่
บทความ เนื้อเรื่อง หรือ คำอธิบาย โดยละเอียด
1. นายชัช ชลวร เป็นประธานศาลรัฐธรรมนูญ
(ชื่อ-นามสกุลเดิม นายวิจิตร งามทวีสุข)
2. นายจรัญ ภักดีธนากุล ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
3. นายจรูญ อินทจาร ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
4. นายเฉลิมพล เอกอุรุ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ (นามสกุล คุ้นๆ ไหม) ลองเช็คชื่อ สส ปชป ดู
5. นายนุรักษ์ มาประณีต ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
6. นายบุญส่ง กุลบุปผา ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
7. นายวสันต์ สร้อยพิสุทธิ์ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
8. นายสุพจน์ ไข่มุกด์ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
9. นายอุดมศักดิ์ นิติมนตรี ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ.
มาตรา ๒๐๗
ประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญต้อง
(๑) ไม่เป็นข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำ
(๒) ไม่เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วน ท้องถิ่น หรือไม่เป็นกรรมการหรือที่ปรึกษาของรัฐวิสาหกิจหรือของหน่วยงานของรัฐ
(๓) ไม่ดำรงตำแหน่งใดในห้างหุ้นส่วน บริษัท หรือองค์การที่ดำเนินธุรกิจโดยมุ่งหา ผลกำไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน หรือเป็นลูกจ้างของบุคคลใด
(๔) ไม่ประกอบวิชาชีพอิสระอื่นใด
ในกรณีที่ที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกาหรือที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูง สุด เลือกบุคคล หรือวุฒิสภาให้ความเห็นชอบบุคคลตาม (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) โดยได้รับความยินยอม ของบุคคลนั้น ผู้ได้รับเลือกจะเริ่มปฏิบัติหน้าที่ได้ต่อเมื่อตนได้ลาออกจากการเป็นบุคคล ตาม (๑) (๒) หรือ (๓) หรือแสดงหลักฐานให้เป็นที่เชื่อได้ว่าตนได้เลิกประกอบวิชาชีพอิสระดังกล่าว แล้ว ซึ่งต้อง กระทำภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับเลือกหรือได้รับความเห็นชอบ แต่ถ้าผู้นั้นมิได้ลาออกหรือ เลิกประกอบวิชาชีพอิสระภายในเวลาที่กำหนด ให้ถือว่าผู้นั้นมิได้เคยรับเลือกหรือได้รับความเห็นชอบ ให้เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๒๐๔ และมาตรา ๒๐๖ แล้วแต่กรณี มาใช้บังคับ
ที่มา : รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐/หมวด ๑๐
มาตรา ๒๐๑
ก่อนเข้ารับหน้าที่ ผู้พิพากษาและตุลาการต้องถวายสัตย์ปฏิญาณ ต่อพระมหากษัตริย์ด้วยถ้อยคำดังต่อไปนี้
“ข้าพระพุทธเจ้า (ชื่อผู้ปฏิญาณ) ขอถวายสัตย์ปฏิญาณว่า ข้าพระพุทธเจ้าจะจงรักภักดี ต่อพระมหากษัตริย์ และจะปฏิบัติหน้าที่ในพระปรมาภิไธยด้วยความซื่อสัตย์สุจริต โดยปราศจากอคติ ทั้งปวง เพื่อให้เกิดความยุติธรรมแก่ประชาชน และความสงบสุขแห่งราชอาณาจักร ทั้งจะรักษาไว้และ ปฏิบัติตามซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทยและกฎหมายทุกประการ”
นายจรัญ ภักดีธนากุล
ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
เกิดวันที่ : ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๔๙๓ อายุ ๕๘ ปี
ประวัติการศึกษา : - นิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ ๑) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- เนติบัณฑิตไทย สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา
- B.A. (CAMBRIDGE) ประเทศอังกฤษ
- Barrister - at - Law (Grey's Inn) ประเทศอังกฤษ
ประวัติการทำงาน : - ปลัดกระทรวงยุติธรรม วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๙
- เลขาธิการประธานศาลฎีกา วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๔๔
- ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ วันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๔๐
- เลขาธิการส่งเสริมงานตุลาการ วันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๓๕
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุดที่ได้รับ : - มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)
รายชื่ออาจารย์พิเศษ
17. ศ.จรัล ภักดีธนากุล - น.บ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - น.บ.ท. สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา - LL.M. University,Barrister-at–law Gray’s Inn, London. - LL.B. Wales University.
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ (http://law.hcu.ac.th/personal.htm)
วิทยากรพิเศษ
ศ.พิเศษ จรัล ภักดีธนากุล เลขาธิการประธานศาลฎีกา ประเด็นทางสังคมจิตวิทยาในกระบวนการยุติธรรม
กฎหมายอาญา
สถาบันจิตวิทยาฮอทไลน์ (http://www.thaicounsel.com/aboutUs.htm)
อาจารย์พิเศษ
# ศ.(พิเศษ) จรัญ ภักดีธนากุล
# สังกัด : ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
# การศึกษา : น.บ. จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
น.ม.ท. สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา
B.A. Cambridge U.
Barrist er-at-law Grey's Inn.
# วิชาที่สอน : 300 - 306 กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน
คณะ นิติศาสตร์ มหาลัยหาดใหญ่ (http://eportfolio.hu.ac.th/law/index.php?option=com_content&task=category§ionid=9&id=54&Itemid=82)
ศ.(พิเศษ)จรัญ ภักดีธนากุล
ประสบการณ์การสอนและการทำงาน
ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
ผู้บรรยายวิชา
LAW312 กฎหมายลักษณะพยาน
คณะนิติศาตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต (http://member.rsu-lawonline.com/content.php?ct_id=72)
นอกจากนี้ทางสภามหาวิทยาลัยรังสิต มีมติเป็นเอกฉันท์ อนุมัติปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ แด่บุคคลผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบความสำเร็จในวิชาชีพ และมีประวัติการทำงานที่ส่งเสริมการพัฒนาแก่สังคมทั้งระดับประเทศ และนานาชาติ ในพิธีประสาทปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยรังสิต ประจำปี 2550 ในวันอาทิตย์ที่ 16 ธันวาคม 2550 ณ อาคารนันทนาการ มหาวิทยาลัยรังสิต
กรรมการสภามหาวิทยาลัยรังสิต ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 20 ท่าน ได้แก่ พลอากาศเอกกำธน สินธวานนท์ (นายกสภาฯ) ศาสตราจารย์ ดร.เกษม สุวรรณกุล (อุปนายก) ศาสตราจารย์ ดร.สุรพล นิติไกรพจน์ ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน ศาสตราจารย์ ดร.พรชัย มาตังคสมบัติ ศาสตราจารย์ ดร.ธีระ สูตะบุตร ดร.กำแหง สถิรกุล ดร.อาชว์ เตาลานนท์ นายพิชัย วาศนาส่ง พลเรือตรี นายแพทย์วิทุร แสงสิงแก้ว ศาสตราจารย์ นายแพทย์ประสงค์ ตู้จินดา ดร.วราวรรณ สุวรรณผาติ รองศาสตราจารย์ประกอบ ประพันธ์เนติวุฒิ นายอนุชา โมกขะเวส นางมัณฑนา ศังขะกฤษณ์ ศาสตราจารย์ (พิเศษ) จรัล ภักดีธนากุล ศาสตราจารย์ ดร.ไพรัช ธัชยพงษ์ ดร.ครรชิต มาลัยวงศ์ ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ และนายอานันท์ หาญพาณิชย์พันธ์
โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่านที่ได้รับมอบปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยรังสิต ในปีนี้ ได้แก่
1. นายสนธิ ลิ้มทองกุล ปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาผู้นำทางสังคม ธุรกิจ การเมือง
นายสนธิ ลิ้มทองกุล ในฐานะนักหนังสือพิมพ์ นักเขียน ผู้ก่อตั้ง และเจ้าของหนังสือพิมพ์ในเครือผู้จัดการ ที่ได้รับฉายาจากสื่อต่างประเทศว่า Media Mogul หรือ Media Tycoon นายสนธิ ได้เริ่มจุดเทียนแห่งปัญญา ในฐานะผู้ดำเนินรายการ “เมืองไทยรายสัปดาห์” เปิดฉากกระหน่ำวิจารณ์รัฐบาล โดยการเปิดโปงการุจริตประพฤติมิชอบ ซึ่งในยุคสมัยนี้คงไม่มีสื่อมวลชนคนใด ที่จะสามารถสร้างปรากฎการณ์ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองได้เท่ากับ เขา
ศูนย์ศึกษาวิภาวดี มหาลัยรังสิต (http://www.viphavadeecenter.com/news_detail.php?id=86)
อาจารย์พิเศษ
# ศ.(พิเศษ) จรัญ ภักดีธนากุล
# สังกัด : ปลัดกระทรวงยุติธรรม
# การศึกษา : น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ1)น.ม.ท.
Bachelor of Arts จาก University of Cambridge
# วิชาที่สอน : 0801236 พยาน
คณะนิติศาตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ (http://www.tsu.ac.th/law/lawtsu/person.php?cId=2)
อาจารย์พิเศษ
5 ศาสตราจารย์ (พิเศษ) จรัญ ภักดีธนากุล
เลขาธิการประธานศาลฎีกา
คณะนิติศาตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต (http://www.dpu.ac.th/graduate/llm/page.php?id=2076)
คณะกรรมการวิชาการ คณะนิติศาสตร์
ศาสตราจารย์ จรัญ ภักดีธนากุล
คุณวุฒิ
น.บ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
น.บ.ท. สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา
University of Cambridge, Grey's Inn (Barrister at Law).
เลขานุการประธานศาลฎีกา
คณะนิติศาตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจเกริก (http://)
นายอุดมศักดิ์ นิติมนตรี
ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
กิดวันที่ : ๔ พฤษภาคม ๒๔๙๑ อายุ ๖๐ ปี
ประวัติการศึกษา : - นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- เนติบัณฑิตไทย สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา
ประวัติการทำงาน : - ตุลาการศาลปกครองสูงสุด วันที่ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐
- ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ วันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๔๙
- ผู้พิพากษาศาลฎีกา วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๖
- รองประธานศาลอุทธรณ์ วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๕
- ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลอุทธรณ์ วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๓
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุดที่ได้รับ : - มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)
คณาจารย์พิเศษ
10.
นายอุดมศักดิ์ นิติมนตรี
ศาลฎีกา
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
พวกท่านทั้งหลายทุกคนคือผู้นำ
ผมแพ้ไม่เป็นไร ผมเจ็บปวดไม่เป็นไร
ผมทุ่มเททำงานให้กับบ้านเมืองขนาดนี้ แต่ผมถูกรังแกขนาดนี้ เป็นการแสดงให้เห็นว่า มีบุคคลที่ไม่ต้องการให้มีผู้น ที่จะมาทำงานให้บ้านเมือง ต้องการแค่ผู้นำ ที่อยู่ไปวันๆ หนึ่ง แต่ประชาชนไม่ต้องได้อะไร "
"ผมคิดว่า มันเป็นความเจ็บปวดของคนทั้งประเทศ ผมคิดว่า จำเป็นจะต้องต่อสู้ และความรับผิดชอบบนแผ่นดินไทยของผมยังมีอยู่ การที่เขาชนะ และคิดว่า จะต้องล้มผมให้ได้ ก็ต้องกล่าวหาว่าไม่จงรักภักดี และมีกระบวนการให้เห็นว่า การไม่จงรักภักดี จะต้องลงโทษอย่างไร ซึ่งไร้สาระที่สุด และผมจะไม่ยอมให้ความเข้าใจผิดอย่างนี้ มีอย่างต่อเนื่อง"
ผมก็จะต่อสู้ และพูดพร้อมกันไป ถ้าจะให้ผมยอมแพ้ ผมทำไม่ได้ และพวกท่านที่อยู่ข้างเคียงผมวันนี้ ก็ขอให้สบายใจได้เลยว่า ผมจะไม่ทิ้งพวกท่านเช่นกัน
ผมอยากเห็นความยุติธรรมเกิดขึ้นในสังคมไทย ผมจึงจะหาความยุติธรรมให้เจอ ไม่ว่าจะเจอมันบนสวรรค์ หรือในนรกก็ตาม แม้วันนี้ คนจะเห็นว่า พรรคเราไม่มีผู้นำ แต่ความจริงแล้ว พวกท่านทั้งหลายทุกคนคือผู้นำ
ทำไมปรีดีรีบเรียกประชุมคระรัฐมนตรีใน สามทุมวันที่ เก้า มิย เพื่อสรรหา ในหลวงคนต่อไป
ในคืนวันที่ 9 มิย. 89 คงไม่มีใครคิดเป็นทางอื่น นอกจากทางที่เลือกกัน (พระอนุชา) แม้แต่นายควงเอง ผมคิดว่า "ข่าวลือ" ที่ Landon กล่าวถึงในเดือนกุมภาพันธ์ 2491 และ "แผนการ" ของ ควง-พี่น้องปราโมช ถ้า จะมีจริง ก็เพราะในบริบทของการพัฒนาการใหม่ที่ผมเขียนไว้ในกระทู้ว่า "อาจกล่าวได้ว่า หลังรัฐประหาร หรือหลังจากปรีดีถูกโค่นแล้ว และเวลาผ่านไประยะหนึ่ง ข่าวลือที่เป็นในเชิงพุ่งเป้าไปในทางตรงข้ามกลับเข้มข้นมากขึ้น..."
เรื่องประชุม ครม.ในคืนวันที่ 9 นั้น น่าเสียดายว่า ถ้ามีการประชุมจริง ก็ไม่มีบันทึกเหลืออยู่แล้ว
เท่าที่มีบันทึกเหลืออยู่ คือ การประชุมวันที่ 31 พฤษภาคม 2489 (การประชุมครั้งที่ 19/2489) แล้ว กระโดด เป็นวันที่ 12 มิถุนายน 2489 ซึ่งนับเป็นการประชุมครั้งที่ 1/2489 นี่เป็นการ "นับตัวเลข" ครั้งประชุมใหม่ ทุกครั้งที่มีการตั้ง ครม.ใหม่ (เพราะปรีดี ลาออก เมื่อเกิดสวรรคต เพื่อให้มีการตั้งใหม่ เขาบอกว่า king ที่ตั้งสวรรคต มี king ใหม่แล้ว จึงควรให้พระองค์ตั้งนายกฯใหม่ ความจริง ไม่จำเป็นต้องลาก็ได้ ผมว่านะ ออกจะ formalism เกินไป) ซึ่งในการประชุม ครม.ครั้งนี้ (12 มิถุนายน 89) ก็ไม่มีการพูดเรื่องกษัตริย์องค์ใหม่แล้ว (เพราะแต่งตั้งกันไปแล้ว)
เมืองไทย น่าเสียดายที่ไม่มีประเพณีการบันทึกการประชุม การตัดสินใจครั้งสำคัญๆทางประวัติศาสตร์จำนวนมาก แม้จะประชุมใน ครม. ก็ไม่มีบันทึกไว้ (แล้วหลายครั้ง ไม่ได้ประชุมใน ครม.ด้วยซ้ำ - แม้จะมี ครม.อยู่) ... นึกแล้วเสียดาย ใครที่ศึกษาประวัติศาสตร์รัสเซีย คงทราบว่า แม้แต่พรรคบอลเชวิค สมัยเป็นพรรคใต้ดิน ยังมีบันทึกการประชุมเหลือไว้บ้าง (แน่นอนไม่สมบูรณ์) รวมทั้ง เฃ่น การประชุมครั้งประวัติศาสตร์ 10 ตุลาคม 1917 ที่ให้ตัดสินใจยึดอำนาจ
แล้วใครทำหนอ
เอาแค่ ถ้าปรีดีย์ หรือ กองทัพฆ่าเอง
ลองดูว่า ปรีดีย์ หมดอำนาจไปกี่ปีแล้ว
ส่วนกองทัพ เรื่องมันนานจน บุคคลกรเปลี่ยนไป ไม่รู้กี่ชุด
อำนาจเปลี่ยนมือ ครั้งแล้วครั้งเล่า
อีกเรื่องที่ไม่เข้าใจว่าทำไมต้องประหารนายเฉลียวด้วย
และถ้าเรื่องใครฆ่ามันซับซ้อนกว่านั้นจนเป็นเหตุให้ไม่มีใครกล้าพูดความจริงแล้วทำไมยังมีเสียงสนับสนุนให้ขึ้นมาได้
มันเป็นปริศนาจริงๆนะ
อาจจะแค่มีปากเสียงกัน หรือมากกว่านั้น
เรื่องนี้ ยังคงเป็นเรื่องที่ แทบแตะต้องไม่ได้
แสดงว่าอะไร ???
เหมือนเรื่องราว ตอบตัวเองไปแล้ว
จากเอกสารบางฉบับ ซึ่งก็ไม่รู้จริงแค่ไหน
ระบุว่า ร.8 ไม่ใช่แค่อยากลงเลือกตั้งเอง เล่นการเมืองเอง
แต่ท่านจะทำมากกว่านั้น คือ ยุบสถาบันกษัตริย์ ทิ้งซะเอง
ด้วยเหตุผลว่า ไม่เหมาะกับประเทศยุคใหม่
หากเอกสารเป็นจริง
ประเทศนี้ ก็เสีย 1ในสุดยอดผู้นำ ที่รักประชาชน มากกว่าญาติพี่น้องตัวเองซะอีก
เสียท่านไปแบบ ไม่เคยให้ความยุติธรรมกับท่านเลย
แต่เรื่องเกิดขึ้นมานานประมาณ 60 ปี มีการไต่สวนข้อเท็จจริงแล้ว มีคนหลายคน
ถูกประหารชีวิต
ถ้ามีการรื้อฟื้นมาใหม่ แน่ใจได้อย่างไรว่าผลของมันจะได้รับการยอมรับ
จากทุกฝ่าย หากไม่ได้รับการยอมรับ แน่นอนย่อมทำให้สังคมแตกแยก
สถาบันพระมหากษัตริย์อันเป็นที่เคารพของปวงชนชาวไทยต้องได้รับ
การกระทบกระเทือน ทำให้สังคมการเมืองของไทยที่อยู่มาอย่างสงบ
ปั่นป่วน
แต่ "สังคมการเมืองของไทยที่อยู่มาอย่างสงบ"
สงบจังเลยนะ 60 ปี รัฐประหารไป20 ครั้งได้
นองเลือดใหญ่กลางกรุง 3 ครั้ง
นองเลือดย่อยอีกเป็นพันหมื่น
แพะโดนประหารสามท่าน
ผู้นำกรรมกร สหภาพชาวไร่นาโดนอุ้มฆ่าหลายร้อย
คนไทยถูกบีบให้เข้าป่าหลายพัน
ปัญญาชนทั้งนั้น หนีเข้าป่าหลัง 6 ตุลา
ไปช่วยให้พรรคคอมมิวนิสต์เติบใหญ่
แล้วหันกลับมาสู้ด้วยอาวุธกันยี่สิบปี ตายไปกี่พันหมื่น
ลองดูว่า ปรีดีย์ หมดอำนาจไปกี่ปีแล้ว
ส่วนกองทัพ เรื่องมันนานจน บุคคลกรเปลี่ยนไป ไม่รู้กี่ชุด
อำนาจเปลี่ยนมือ ครั้งแล้วครั้งเล่า
อีกเรื่องที่ไม่เข้าใจว่าทำไมต้องประหารนายเฉลียวด้วย
และถ้าเรื่องใครฆ่ามันซับซ้อนกว่านั้นจนเป็นเหตุให้ไม่มีใครกล้าพูดความจริงแล้วทำไมยังมีเสียงสนับสนุนให้ขึ้นมาได้
มันเป็นปริศนาจริงๆนะ
อาจจะแค่มีปากเสียงกัน หรือมากกว่านั้น
เรื่องนี้ ยังคงเป็นเรื่องที่ แทบแตะต้องไม่ได้
แสดงว่าอะไร ???
เหมือนเรื่องราว ตอบตัวเองไปแล้ว
จากเอกสารบางฉบับ ซึ่งก็ไม่รู้จริงแค่ไหน
ระบุว่า ร.8 ไม่ใช่แค่อยากลงเลือกตั้งเอง เล่นการเมืองเอง
แต่ท่านจะทำมากกว่านั้น คือ ยุบสถาบันกษัตริย์ ทิ้งซะเอง
ด้วยเหตุผลว่า ไม่เหมาะกับประเทศยุคใหม่
หากเอกสารเป็นจริง
ประเทศนี้ ก็เสีย 1ในสุดยอดผู้นำ ที่รักประชาชน มากกว่าญาติพี่น้องตัวเองซะอีก
เสียท่านไปแบบ ไม่เคยให้ความยุติธรรมกับท่านเลย
แต่เรื่องเกิดขึ้นมานานประมาณ 60 ปี มีการไต่สวนข้อเท็จจริงแล้ว มีคนหลายคน
ถูกประหารชีวิต
ถ้ามีการรื้อฟื้นมาใหม่ แน่ใจได้อย่างไรว่าผลของมันจะได้รับการยอมรับ
จากทุกฝ่าย หากไม่ได้รับการยอมรับ แน่นอนย่อมทำให้สังคมแตกแยก
สถาบันพระมหากษัตริย์อันเป็นที่เคารพของปวงชนชาวไทยต้องได้รับ
การกระทบกระเทือน ทำให้สังคมการเมืองของไทยที่อยู่มาอย่างสงบ
ปั่นป่วน
แต่ "สังคมการเมืองของไทยที่อยู่มาอย่างสงบ"
สงบจังเลยนะ 60 ปี รัฐประหารไป20 ครั้งได้
นองเลือดใหญ่กลางกรุง 3 ครั้ง
นองเลือดย่อยอีกเป็นพันหมื่น
แพะโดนประหารสามท่าน
ผู้นำกรรมกร สหภาพชาวไร่นาโดนอุ้มฆ่าหลายร้อย
คนไทยถูกบีบให้เข้าป่าหลายพัน
ปัญญาชนทั้งนั้น หนีเข้าป่าหลัง 6 ตุลา
ไปช่วยให้พรรคคอมมิวนิสต์เติบใหญ่
แล้วหันกลับมาสู้ด้วยอาวุธกันยี่สิบปี ตายไปกี่พันหมื่น
บันทึกช่วยจำว่าด้วยกรณีสวรรคตและข่าวลือแผนการใหญ่ปี 2491
Landon archive:The King and I,กรณีสวรรคตและแผนใหญ่ของควง-พี่น้องปราโมช
สมศักดิ เจียมธีรสกุล Posted : 2007-02-22 18:06:33
Archive ของ เคนเน็ธ และ มาร์กาเร็ต แลนดอน, ต้นฉบับ The King and I และ บันทึกช่วยจำว่าด้วยกรณีสวรรคตและข่าวลือแผนการใหญ่ปี 2491 ของ ควง และ "พี่น้องปราโมช"
( * บางส่วนของข้อมูลข้างล่าง จะปรากฏอยู่ในบทความเรื่อง "ความพยายามเข้าเฝ้าสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระราชชนนีที่สวิตเซอร์แลนด์เพื่อสืบพยานคดีสวรรคต ๒๔๙๒" ที่ผม หวังว่า จะทำให้เสร็จทัน ฟ้าเดียวกัน ฉบับต่อไป)
สามีภรรยา เคนเน็ธ และ มาร์กาเร็ต แลนดอน เป็นที่รู้จักในหมู่ผู้สนใจไทยศึกษา (กรณีมาร์กาเร็ต ประชาชนทั่วโลกที่สนใจหนัง) ด้วยหนังสืออันลือชื่อ 2 เล่ม (คนละเล่ม) สำหรับ เคนเน็ธ คือหนังสือ " สยามระยะเปลี่ยนผ่าน " ( Siam in Transition ) ซึ่งเป็นประวัติศาสตร์การปฏิวัติ 2475 เล่มแรกๆ อันทีจริง หนังสือเล่มมนี้อาจถือเป็นความพยายามศึกษาเชิงวิชาการต่อ 2475 เป็นคร้งแรกไม่ว่าในภาษาใดก็ได้ (งานของหลวงวิจิตร และคนอื่นๆที่ออกมาในช่วงเดียวกันในภาษาไทย ผมคิดว่า ยังไม่อาจจัดเป็นงานวิชาการ (scholarly) ได้เสียทีเดียว) ที่สำคัญ ในภาคผนวกของหนังสือ คือ คำแปลภาษาอังกฤษฉบับเต็มของ "สมุดปกเหลือง" หรือ "เค้าโครงการเศรษฐกิจ" ของ ปรีดี พนมยงค์ (ฉบับแปลภาษาอังกฤษของเคนเน็ต แลนดอนนี้ มีอยู่ประโยคหนึ่ง ซึ่ง (เท่าที่ผมทราบ) ไม่เคยปรากฏในฉบับตีพิมพ์ภาษาไทยเท่าที่เคยมีการค้นพบกันมา (เข้าใจว่ารวมถึงแม้แต่ฉบับที่ปรากฏในบทความที่ดีมากของ ณัฐพล ใจจริง ที่สืบค้นประวัติการตีพิมพ์งานชิ้นนี้ในภาษาไทย) คือ ประโยคที่ว่า Why do you officials with salaries and pensions oppose the granting of salaries and pensions to the people? (ซึ่ง แลนดอน กล่าวว่า ปรากฏอยู่ตอนบนสุดของทุกหน้าของ "เค้าโครง" ที่เขาแปลมา)
มาร์กาเร็ต ดังที่รู้กันทั่วไป คือผู้เขียน Anna and the King of Siam หนังสือเกี่ยวกับชีวิตแหม่มแอนนา เลียวโนเวนส์ ซึ่งได้รับความสำเร็จอย่างมาก เป็น instant best-seller หนังสือขายดีทันควัน ที่ถูกทำเป็นทั้งละคอนเวที และหนัง (หนังคน 3 เวอร์ชั่น, หนังการ์ตูน 1 เวอร์ชั่น) โดยเฉพาะที่รู้จักกันมากที่สุดคือภายใต้ชื่อ The King and I
เคนเน็ต เพอรี่ แลนดอน (Kenneth Perry Landon) เกิดเมื่อเดือนมีนาคม 1903 ในเพนน์ซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา ส่วน มาร์กาเร็ต (นามสกุลเดิม Mortenson) เกิดในเดือนกันยายนปีเดียวกันที่รัฐ ทั้งคู่ได้พบกันเมื่อศึกษาอยู่ที่วิทยาลัยวีตัน (Wheaton College) ซึ่งเป็นสถาบันการศึกษาทางศาสนาของโปรแตสแตนท์นิกายเพรสไบทาเรียน (Presbyterian) ในรัฐอิลลินอยซ์ เคนเน็ตเรียนอยู่ที่วีตัน 3 ปี เมื่อจบในปี 1924 เขาได้ศึกษาต่อระดับปริญญาโททางเทววิทยา (Master of Theology) ที่พริ้นซ์ตัน ทั้งคู่หมั้นกันในปีนั้น และในปี 1926 ก็แต่งงานกัน แล้วทั้งคู่ก็เดินทางมาเป็นมิชชันนารีเผยแพร่ศาสนาที่ประเทศสยาม โดยลงหลักปักฐานอยู่ที่จังหวัดตรัง
ระหว่างอยู่ที่ตรัง มาร์กาเร็ตได้เป็นครูและต่อมาครูใหญ่โรงเรียนสตรีที่นั่น (ในระหว่างนั้นเองที่เธอสนใจและค้นคว้าเกี่ยวกับชีวิตของ แอนนา เลียวโนเวนส์ แหม่มสอนภาษาในราชสำนักรัชกาลที่ 4) ส่วนเคนเน็ตนอกจากเผยแพร่ศาสนาในจังหวัดตรังแล้ว ยังเดินทางไปจัดตั้งโบสถ์ในอีกหลายจังหวัดด้วย
ในระหว่างที่เดินทางกลับเพื่อพักผ่อนที่สหรัฐในปี 1937-38 พวกเขาได้ตัดสินใจว่าจะไม่กลับสยามอีก (โดยทิ้งบ้านและข้าวของที่ตรัง) ภายในปีเดียวนั้นเอง เคนเน็ตได้ทุ่มเรียนรายวิชา, สอบ และทำวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกกับมหาวิทยาลัยชิคาโกเสร็จ วิทยานิพนธ์ของเขาได้รับการตีพิมพ์ในปีต่อมา (1939) ภายใต้ชื่อ Siam in Transition
ปีเดียวกัน (1939) เคนเน็ตได้งานเป็นอาจารย์สอนปรัชญาที่วิทยาลัยเอิร์ลแฮม (Earlham) ในรัฐอินเดียน่า แต่ใน 1941 เขาได้รับการเรียกตัวจาก พ.อ. วิลเลียม โดโนแวน (William Donovan) บุรุษผู้เป็นตำนาน (เจ้าของฉายา "Wild Bill") ในฐานะผู้ให้กำเนิด CIA ให้ไปช่วยงานที่กระทรวงการต่างประเทศในวอชิงตัน โดยขอร้องว่าประธานาธิบดีรูสเวลต์ต้องการตัวเคนเน็ตโดยด่วนเพื่อไปช่วยงานด้านการข่าวและวิเคราะห์เกี่ยวกับญี่ปุ่นในอินโดจีนและประเทศไทย
ความจริง ตอนแรก เคนเน็ตไม่ได้สนใจที่จะทำงานเป็นข้าราชการกระทรวงการต่างประเทศอย่างถาวร แต่ในที่สุด เขาได้ใช้ชีวิตอยู่ที่กระทรวงตลอดช่วงสงครามโลกและเริ่มต้นสงครามเย็นจนถึงเกษียณในปี 1965 ระหว่างนั้น ในปี 1954 เขาถูกยืมตัวไปช่วยงาน สภาความมั่นคงแห่งชาติ ที่ทำเนียบขาวของประธานาธิบดีไอเซนฮาว ทำหน้าที่เกี่ยวกับการแปรนโยบายเป็นการปฏิบัติ (policy implementation) เขาได้เดินทางมาที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้หลายครั้ง ครั้งหนึ่งในปี 1960 เขาได้พบปะกับโงดินห์เดียม ประธานาธิบดีของรัฐเวียดนามใต้ด้วย ปี 1961 รัฐบาลใหม่ (เคเนดี้) ให้ความสนใจกับปัญหาคอมมิวนิสต์และการต่อต้านการก่อการร้าย (counter-insurgency) มีการตั้งหลักสูตรสัมมนาฝึกอมรมความรู้ด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และการต่อต้านการก่อการร้าย ให้แก่ทูตประจำประเทศต่างๆ นายทหาร และเจ้าหน้าที่รัฐบาลอเมริกันระดับสูง ซึ่งเคนเน็ตก็ได้ทำหน้าที่เป็นผู้บรรยายของการสัมมนาอบรมนี้อย่างสม่ำเสมอ
พร้อมกับที่เคนเน็ตเริ่มงานที่กระทรวงการต่างประเทศ มาร์กาเร็ตก็ได้ทำต้นฉบับหนังสือแอนนาเสร็จ และได้ตีพิมพ์ Anna and the King of Siam ในปี 1942 ได้รับความสำเร็จอย่างสูง ขายได้เกือบ 8 แสนเล่มเฉพาะในสหรัฐและอังกฤษ ในปี 1946 ทเวนตี้เซนจูรี่ฟ็อกซ์ ได้นำไปสร้างเป็นหนัง นำแสดงโดย เร็กซ์ แฮริสัน และ ไอรีน ดันน์ ต่อมาภายหลัง รอเจอร์กับแฮมเมอร์สไตน์นักทำละคอนเพลงชื่อดังก็นำไปทำเป็นละคอนเพลง The King and I ที่มีชื่อเสียง
หลังออกจากงานกระทรวงต่างประเทศ เคนเน็ตได้เป็นศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยอเมริกัน (American University) จนถึงอายุ 71 (1974) จึงเกษียณอีกครั้ง
เคนเน็ต แลนดอน ถึงแก่กรรมในเดือนสิงหาคม 1993 มาร์กาเร็ต ถึงแก่กรรมตามกันไปในอีกเพียง 3 เดือนเศษต่อมา (ธันวาคม)
แนะนำ Arichive ของ เคนเน็ต และ มาร์กาเร็ต แลนดอน
เคนเน็ตและมาร์กาเร็ต แลนดอน ได้ยก archive ส่วนตัวของพวกเขาให้กับวิทยาลัยวีตัน สถานศึกษาเก่าของพวกเขา (ผมหาคำแปลคำว่า archive ที่ถูกใจไม่ได้ เพราะคำว่า "จดหมายเหตุ" ฟังดูชอบกล เพราะสิ่งที่อยู่ใน archive มีมากกว่าเอกสาร รวมถึงรูปถ่าย เทปบันทึกเสียง เป็นต้น จึงขออนุญาตทับศัพท์)
ใน archive มีขนาดใหญ่โตมากทีเดียว คือมีความยาวถึงหลายสิบฟุต ซึ่งผู้สนใจและขยันพอ น่าจะสามารถใช้เป็นแหล่งข้อมูลทำวิทยานิพนธ์หรือบทความดีๆได้หลายเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องประเทศสยาม (มีไดอารี่ของ เคนเน็ต ช่วงที่อยู่สยาม ปี 1929-1930 และ 1934 "รายงาน" และ จดหมายเวียนถึงเพื่อนในช่วงนั้น), เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (เอกสารของเคนเน็ต สมัยทำงานกระทรวงต่างประเทศ และ สภาความมั่นคง)
และ มีหลายกล่องที่เก็บเอกสาร และ materials ต่างๆเกี่ยวกับ Anna and the King of Siam อยู่ด้วย เฉพาะส่วนที่เป็นต้นฉบับ คือ
VI. Literary Work (Margaret Landon)
- A. Manuscripts
- - 3. Manuscripts, Books
ต่อไปนี้คือหัวข้อและคำอธิบายสั้นๆ ของ materials ที่เป็นต้นฉบับ
Box VI A 3:1a, Anna and the King of Siam (First Box)
[Consists of an early (incomplete?) typescript of “Anna”, with chapter pagination starting afresh. It contains many revisions, edits, additions, in ML’s hand. Some chapters may contain multiple (later) typescripts.]
1. Untitled Biography
2. Book Cover for "Anna and The King of Siam"
3-50. Manuscript Fragments, Chapters 1-33
51. Capitalization of Proper Nouns
52. French Names
53. Siamese Words Used
54. Spelling
55. Spelling of Names on the Map
Box VI A 3:1b (Second Box)
Galleys for Anna and the King
Box VI A 3:2, Anna and the King of Siam
Manuscript (typescript) submitted to John Day Publishers, 40 Folders
มี materials อื่นๆ เช่น ที่เกี่ยวกับ การทำหนัง ทำละคอนเพลง ไปจนถึง บทความที่มาร์กาเร็ตเขียนเองเกี่ยวกับเรื่องนี้ และ reviews ต่างๆด้วย ที่น่าสนใจอีกกลุ่มหนึ่งคือ "บันทึกจากการค้นคว้าเกี่ยวกับ แอนนา เลียวโนเวนส์" (Research Notes on Anna Leonowens) เท่าที่นับได้มีอยู่ถึง 7 กล่อง จาก ฺBox VI C 4:1 ถึง Box VI C 4:7
(น่าสนใจว่า มีหัวข้ออย่าง Mongkut, Torture and Death in His Reign ด้วย)
นอกจากนี้ ยังมี secondary materials (คือของผู้อื่นที่มาร์กาเร็ตรวบรวมไว้) เกี่ยวกับเรื่อง Anna รวมทั้งพวก รูปภ่าย จำนวนมาก
ในปี 1949 มาร์กาเร็ต ได้ตีพิมพ์หนังสืออีกเล่มหนึ่งชื่อ Never Dies The Dream เกี่ยวกับประสบการณ์ชีวิตของเธอเอง แต่ไม่ประสบความสำเร็จในแง่ความนิยมของผู้อ่านนัก ใน archive มี materials ของหนังสือเล่มนี้เช่นกัน
มาร์กาเร็ต ยังได้เขียนต้นฉบับหนังสืออีก 2 เล่ม ชื่อ Long Ago and Far Away ซึ่งเกี่ยวกับประวัติศาสตร์สยาม มีความยาวถึง 15 บท และ Malayan History ความยาว 23 บท เกี่ยวกับประวัติศาสตร์มลายู ทั้งสองเล่ม ไม่ได้รับการตีพิมพ์
ทั้งหมดที่กล่าวมานี้ หากสนใจ...
ดูหัวข้อรายการของ archive ทั้งหมดได้ที่
http://www.wheaton.edu/learnres/ARCSC/collects/sc38/container.htm
ดูแบ็กกราวน์ของ archive และประวัติย่อของ เคนเน็ตและมาร์กาเร็ต แลนดอน ที่
http://www.wheaton.edu/learnres/ARCSC/collects/sc38/bio.htm
และฟัง บันทึกเสียง "ประวัติศาสตร์บอกเล่า" ของ เคนเน็ต และ มาร์กาเร็ต พร้อมภาพประกอบ ได้ที่
http://www.wheaton.edu/learnres/ARCSC/exhibits/landon2/index.htm
พระราชกรณียกิจครั้งสุดท้ายของรัชกาลที่ 8 ณ ทุ่งบางเขน 5 มิถุนายน พ.ศ. 24892
ลำดับเหตุการณ์
พระราชกรณียกิจครั้งสุดท้ายของรัชกาลที่ 8 ณ ทุ่งบางเขน 5 มิถุนายน พ.ศ. 24892 มิถุนายน 2489
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เริ่มมีพระอาการประชวรเกี่ยวกับพระนาภี (มีอาการปวดท้อง)
3 มิถุนายน 2489พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล พร้อมด้วย สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9 ในเวลาต่อมา) เสด็จเยี่ยมเยียนสำเพ็งด้วยการพระราชดำเนิน ท่ามกลางความปลาบปลื้มยินดีของพสกนิกร โดยเฉพาะชาวจีนและชาวไทยเชื้อสายจีนที่อาศัยอยู่ ณ ที่แห่งนั้น
5 มิถุนายน 2489
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช ทรงทอดพระเนตรการทำนาที่อำเภอบางเขน และกิจการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 8 ทรงหว่านข้าวในแปลงนาหลังตึกขาว ซึ่งปัจจุบันคือตึกพืชพรรณของกรมวิชาการเกษตร
8 มิถุนายน 2489
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลมีพระอาการประชวรมากขึ้น เวลาเย็นวันนี้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระอนุชาธิราชปฏิบัติพระราชกิจแทนพระองค์ นายปรีดี พนมยงค์ได้รับเลือกจากรัฐสภาให้เข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี (ครั้งที่ 2)
9 มิถุนายน 2489 (วันเกิดเหตุ)
พระที่นั่งบรมพิมาน พระบรมมหาราชวัง (สถานที่เกิดเหตุ)
เส้นทางเคลื่อนไหวของบุคคลต่างๆ ในพระที่นั่งบรมพิมานชั้นบน ภายหลังเสียงปืนดังขึ้น เมื่อเช้าวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 เวลาประมาณ 9.30 น. (ภาพจากหนังสือกรณีสวรรคต 9 มิถุนายน 2489)
เวลาประมาณ 5.00 น. สมเด็จพระบรมราชชนนีทรงปลุกบรรทมพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเพื่อถวายพระโอสถให้เสวย จากนั้นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรรทมต่อ
เวลาประมาณ 6.20 น. นายบุศย์ ปัทมศริน มหาดเล็กห้องพระบรรทมของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาเข้าเวรถวายงานที่พระที่นั่งบรมพิมานซึ่งเป็นที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และได้รินน้ำส้มคั้นที่ห้องเสวยเพื่อคอยทูลเกล้าฯ ถวาย
เวลาประมาณ 7.00 น. พระยาอนุรักษ์ราชมณเฑียรกับนายชิต สิงหเสนี ขึ้นมาที่พระที่นั่งบรมพิมานเพื่อวัดขนาดพระตรา จากนั้นทั้งสองออกจากพระที่นั่งเพื่อไปติดต่อช่างทำบพระตราที่ร้านงามพันธ์
เวลาประมาณ 8.00 น. นายบุศย์เห็นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวตื่นพระบรรทมจึงนำน้ำส้มคั้นไปถวาย แต่พระองค์โบกพระหัตถ์ไม่เสวย แล้วเสด็จขึ้นพระแท่นบรรทมตามเดิม นายบุศย์จึงกลับมาประจำหน้าที่ ที่หน้าห้องพระบรรทมตามเดิม
เวลาประมาณ 8 นาฬิกาเศษ สมเด็จพระอนุชาธิราช ตื่นพระบรรทม จากนั้น เวลาประมาณ 8.30 น. เสด็จไปเสวยพระกระยาหารเช้าที่หน้ามุขชั้นบนของพระที่นั่งบรมพิมานแต่เพียงพระองค์เดียว
เวลาเกือบ 9 นาฬิกา นายชิตได้ขึ้นมาที่ชั้นบนของพระที่นั่งบรมพิมานและนั่งอยู่หน้าห้องพระบรรทมด้วยกันกับนายบุศย์เพื่อรอให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวตื่นจากบรรทมเสียก่อน เพื่อขอพระบรมราชานุญาตเข้าไปเอาพระตราไปทำบ เนื่องจากทางร้านงามพันธ์ต้องการดูขนาดของพระตราองค์จริง
เวลา 9.05 น. สมเด็จพระอนุชาธิราชเสวยเสร็จแล้ว เสด็จมาที่หน้าห้องแต่งพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเพื่อถามพระอาการของพระเจ้าอยู่หัวกับนายชิตกับนายบุศย์ จากนั้นพระองค์ก็เสด็จไปที่ห้องเครื่องเล่น ซึ่งอยู่ติดกับห้องบรรทมของพระองค์ ในเวลาเดียวกันนั้น สมเด็จพระบรมราชชนนีประทับอยู่ที่ห้องบรรทมของพระองค์กับนางสาวจรูญ ตะละภัฏ ข้าหลวงในพระองค์ ส่วนพระพี่เลี้ยงเนื่อง จินตดุล กำลังเข้าไปเก็บพระที่ในห้องบรรทมของสมเด็จพระอนุชาธิราช
เวลาประมาณ 9.30 น. มีเสียงปืนดังขึ้น 1 นัด ภายในห้องพระบรรทมของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล นายชิตสะดุ้งอยู่มองหน้านายบุศย์และคิดหาที่มาของเสียงปืนอยู่ประมาณ 2 นาที จึงเข้าไปในห้องพระบรรทม พบว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรรทมหลับอยู่เป็นปกติ แต่ปรากฏว่ามีพระโลหิตไหลเปื้อนพระศอ (คอ) และพระอังสะ (ไหล่) ด้านซ้าย นายชิตจึงวิ่งไปที่ห้องบรรทมของสมเด็จพระบรมราชชนนีแล้วกราบทูลว่า “ในหลวงถูกยิง” สมเด็จพระบรมราชนนีตกพระทัย ทรงร้องขึ้นได้เพียงคำเดียวและรีบวิ่งไปที่ห้องพระบรรทมของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลทันที นายชิต, พระพี่เลี้ยงเนื่อง, สมเด็จพระอนุชาธิราช, และนางสาวจรูญได้วิ่งตามเสด็จสมเด็จพระบรมราชชนนีไปติด ๆ (ดูแผนผังพระที่นั่งบรมพิมานประกอบ)
เมื่อไปถึงที่ห้องพระบรรทมนั้นปรากฏว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จสวรรคตเสียแล้ว ในลักษณะของคนที่นอนหลับธรรมดา มีผ้าคลุมพระองค์ตั้งแต่ข้อพระบาทมาจนถึงพระอุระ ที่พระบรมศพมีบาดแผลกลางพระนลาฎ (หน้าผาก) บริเวณระหว่างพระขนง (คิ้ว) ข้างพระศพบริเวณข้อพระกรซ้ายมีปืนพก US Army ขนาดกระสุน 11 มม.วางอยู่ในลักษณะชิดข้อศอก ด้ามปืนหันออกจากตัว ปากกระบอกปืนชี้ไปที่ปลายพระแท่นบรรทม สมเด็จพระบรมราชชนนีได้โถมพระองค์เข้ากอดพระบรมศพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล จนสมเด็จพระอนุชาธิราชต้องพยุงสมเด็จพระบรมราชชนนีไปประทับที่พระเก้าอี้ปลายแท่นพระบรรทม จากนั้นสมเด็จพระบรมราชชนนีจึงมีรับสั่งให้ตาม พ.ต.นายแพทย์หลวงนิตย์เวชวิศิษฐ์ แพทย์ประจำพระองค์มาตรวจพระอาการของในหลวง ส่วนพระพี่เลี้ยงเนื่องได้จับพระชีพจรของในหลวงที่ข้อพระหัตถ์ซ้าย พบว่าพระชีพจรเต้นอยู่เล็กน้อยแล้วหยุด พระวรกายยังอุ่นอยู่ จึงเอาผ้าคลุมพระองค์มาซับบริเวณปากแผล และปืนกระบอกที่คาดว่าเป็นเหตุทำให้ในหลวงสวรรคตไปให้นายบุศย์เก็บพระแสงปืนไว้ที่ลิ้นชักพระภูษา เหตุการณ์ช่วงเองนี้ได้ก่อปัญหาในการพิสูจน์หลักฐานในเวลาต่อมาเมื่อมีการจัดตั้ง “ศาลกลางเมือง” เพื่อสอบสวนเกี่ยวกับกรณีสวรรคต เนื่องจากไม่มีการกันที่เกิดเหตุไว้ให้เจ้าหน้าที่ตำรวจมาตรวจสอบอย่างเวลามีคดีฆาตกรรมต่างๆ เกิดขึ้นตามปกติ ทำให้หลักฐานต่างๆ ในคดีนี้ ล้วนถูกทำลายจากการเปลี่ยนแปลงและเคลื่อนย้ายพระบรมศพและหลักฐานไปจากตำแหน่งเดิม
เวลาประมาณ 10.00 น. หลวงนิตย์เวชวิศิษฐ์ได้มาถึงสถานที่เกิดเหตุและตรวจพระอาการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พบว่าสวรรคตแน่นอนแล้วจึงกราบทูลให้สมเด็จพระบรมราชชนนีทรงทราบ สมเด็จพระบรมราชชนนีจึงรับสั่งให้ทำความสะอาดและตกแต่งพระบรมศพเพื่อเตรียมการถวายน้ำสรงพระบรมศพในช่วงเย็น
ในช่วงเวลาเดียวกัน พระยาเทวาธิราช (ม.ร.ว.เทวาธิราช ป. มาลากุล) สมุหพระราชพิธีได้เดินทางไปที่ทำเนียบท่าช้าง ที่พักของนายปรีดี พนมยงค์ เพื่อแจ้งข่าวการสวรรคต (ขณะนั้นนายปรีดีประชุมอยู่กับหลวงเชวงศักดิ์สงคราม (รมว.มหาดไทย) พล.ต.อ.พระรามอินทรา (อธิบดีกรมตำรวจ) และหลวงสัมฤทธิ์สุขุมวาท (ผู้บังคับการตำรวจสันติบาล) ในเรื่องกรรมกรที่มักกะสันหยุดงานประท้วง)
ประมาณ 11.00 น. นายปรีดีมาถึงพระที่นั่งบรมพิมานและสั่งให้พระยาชาติเดชอุดมอัญเชิญพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นผู้ใหญ่และเชิญคณะรัฐมนตรีมาประชุมเกี่ยวกับเรื่องการเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ประชุมสรุปว่าให้ออกแถลงการณ์แจ้งให้ประชาชนทราบว่า การเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเป็นอุบัติเหตุ แถลงการณ์ของกรมตำรวจที่ออกมาในวันนั้นก็มีเนื้อหาไนลักษณะเดียวกัน
เวลา 21.00 น. รัฐบาลเรียกประชุมรัฐสภาเป็นการด่วนเพื่อแจ้งให้สภาทราบเรื่องการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล และสรรหาผู้สืบราชสมบัติ ที่ประชุมได้ลงมติถวายราชสมบัติให้แก่สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช ขึ้นสืบราชสมบัติ เป็น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ต่อไป จากนั้นนายปรีดีได้ประกาศลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเพื่อแสดงความรับผิดชอบในกรณีสวรรคต
10 มิถุนายน 2489
เจ้าหน้าที่และแพทย์จากโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ได้เดินทางมาทำการฉีดยารักษาสภาพพระบรมศพ ระหว่างการทำความสะอาดพระบรมศพเพื่อเตรียมการฉีดยานั้น คณะแพทย์และเจ้าหน้าที่ได้พบบาดแผลที่พระปฤษฎางค์ (ท้ายทอย) ซึ่งเป็นบาดแผลที่ทะลุจากรูกระสุนปืนที่พระพักตร์บริเวณพระนลาฏ (หน้าผาก) ตรงระหว่างพระขนง (คิ้ว) ทำให้เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์ว่า ที่จริงแล้วในหลวงถูกลอบปลงพระชนม์ เนื่องจากบาดแผลที่พบใหม่ไม่ตรงกับคำแถลงการณ์ที่ออกมาในตอนแรก ทำให้ประชาชนเกิดความสงสัยว่ารัฐบาลมีส่วนในการปลงพระชนม์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว กรมตำรวจจึงออกแถลงการณ์เพิ่มเติมว่าได้ตั้งประเด็นการสวรรคตไว้ 3 ประเด็น คือ
มีผู้ลอบปลงพระชนม์
ทรงพระราชอัตนิวิบากกรรม (ปลงพระชนม์เอง) และ
อุปัทวเหตุ
11 มิถุนายน 2489
กรมตำรวจยังคงแถลงการณ์ยืนยันว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวสวรรคตด้วยอุบัติเหตุ แต่ประชาชนยังคงมีความคลางแคลงใจต่อรัฐบาลอยู่เช่นเดิม ในวันนี้ทางกรมตำรวจได้นำปืนของกลางที่พบในวันสวรรคตไปให้กรมวิทยาศาสตร์ตรวจสอบ
นายปรีดี พนมยงค์ ได้รับเลือกจากรัฐสภาให้ดำรงตำแหน่งนายกฯ อีกครั้ง ผลกระทบ
สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช สืบราชสมบัติ เป็นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์
นายปรีดี พนมยงค์ได้รับผลกระทบจากคดีนี้มากที่สุด เพราะถูกคนกล่าวหาว่า "ปรีดีฆ่าในหลวง" เนื่องจากชี้แจงสาเหตุการสวรรคตแก่ประชาชนได้ไม่ชัดเจนและคลี่คลายคดีนี้ไม่สำเร็จ และกลายเป็นหนึ่งในสาเหตุหลักที่ทำให้นายปรีดีไม่เดินทางกลับมาประเทศไทยอีกเลยจนสิ้นชีวิต หลังจากการลี้ภัยทางการเมืองเพราะเหตุการณ์กบฏวังหลวง พ.ศ. 2492 อย่างไรก็ตาม ในขณะที่มีชีวิตอยู่ก็ได้ให้ลูกชาย (นายปาล พนมยงค์) และคนรู้จักที่อยู่เมืองไทยคอยช่วยต่อสู้คดีหมิ่นประมาทจากกรณีสวรรคตอยู่ตลอด เพื่อพิสูจน์ความบริสุทธิ์ว่า ตนเองไม่ได้มีส่วนก่อคดีกรณีสวรรคตนี้แต่อย่างใด ซึ่งผลปรากฏว่าชนะทุกคดี
คดีนี้ได้กลายเป็นข้ออ้างสำคัญประการหนึ่งในการทำรัฐประหาร พ.ศ. 2490 เนื่องจากรัฐบาลของหลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ (รับช่วงต่อจากนายปรีดี) ไม่สามารถสะสางกรณีสวรรคตได้ อนึ่ง กรณีสวรรคตยังส่งผลให้กลุ่มการเมืองฝ่ายนายปรีดีต้องพลอยหมดบทบาทจากเวทีการเมืองไทยภายหลังการรัฐประหารครั้งนี้ด้วยทฤษฎีและความเชื่อ
ทฤษฏีเกี่ยวกับผู้กระทำความผิดในเหตุการณ์สวรรคต
ปัจจุบันหนังสือต่างๆ ที่เขียนเรื่องพระราชประวัติรัชกาลที่ 8 มักจะเขียนสาเหตุของการสวรรคตไว้แต่เพียงสั้นๆ ว่า "เสด็จสวรรคตด้วยพระแสงปืน ณ พระที่นั่งบรมพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง" หลายฉบับก็ระบุสาเหตุเพิ่มเติมด้วยว่าเพราะพระแสงปืนลั่นระหว่างทรงทำความสะอาดพระแสงปืน (เข้าใจว่าเพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาการโต้เถียงกรณีสวรรคต)
อย่างไรก็ตาม เนื่องจากเหตุการณ์นี้เมื่อถึงที่สุดโดยคำพิพากษาของศาลฎีกาแล้วก็ยังไม่มีความกระจ่างชัดเจน ทำให้เกิดความเชื่อเกี่ยวกับกรณีสวรรคตในเมืองไทย ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็นสองเรื่องใหญ่ๆ โดยอยู่บนพื้นฐานของทฤษฎีการลอบปลงพระชนม์ คือ
ใครอยู่เบื้องหลังกรณีสวรรคต แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่เชื่อว่านายปรีดี พนมยงค์เป็นผู้อยู่เบื้องหลังกรณีสวรรคตและกลุ่มที่ไม่เชื่อว่าเป็นเช่นนั้น
จำเลยทั้งสามเป็นผู้บริสุทธิ์จริงหรือไม่ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่เชื่อกับไม่เชื่อเช่นกัน เรื่องนี้มีที่มาจากการที่นายเฉลียว ปทุมรส 1 ใน 3 จำเลยของคดีดังกล่าวขอพบ พล.ต.อ.เผ่า ศรียานนท์ อธิบดีกรมตำรวจ ก่อนการประหารชีวิต และเล่ากันว่านายเฉลียวได้บอกชื่อฆาตกรตัวจริงให้ พล.ต.อ.เผ่า รู้ด้วย มหาดเล็กทั้ง 3 นาย ตกเป็นจำเลยในคดีนี้ จนกระทั่งวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498 เวลาห้านาฬิกา ก็ได้เวลาประหารจำเลย จึงสึ้นคดีนี้ รวมเวลาได้ 8 ปี 4 เดือน
ประเด็นกรณีสวรรคตยังเป็นเรื่องที่ชาวต่างประเทศที่สนใจเรื่องเมืองไทยอยากรู้เช่นกัน ดังจะเห็นได้จากมีงานเขียนเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษออกมา 2 เล่ม คือ
The Devil’s Discus: An Enquiry Into the Death of Ananda, King of Siam เขียนโดย เรนย์ ครูเกอร์ พิมพ์เมื่อปี พ.ศ. 2507 ในหนังสือเล่มนี้ ผู้เขียนได้เสนอประเด็นว่าเสด็จสวรรคตด้วยการปลงพระชนม์เอง (ถูกแปลเป็นภาษาไทย ใช้ชื่อ กงจักรปีศาจ)
The Revolutionary King: The True–Life Sequel to The King and I เขียนโดยวิลเลี่ยม สตีเฟนสัน พิมพ์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2543 เสนอว่าการสวรรคตของรัชกาลที่ 8 เป็นการลอบปลงพระชนม์ และระบุชื่อบุคคลที่น่าจะเกี่ยวข้องกับการสวรรคตไว้ว่าเป็นสายลับญี่ปุ่น ชื่อ ซึจิ มาซาโนบุ (Tsuji Masanobu)
หนังสือทั้งสองเล่มข้างต้นถูกโจมตีจากชาวไทยที่ได้อ่านหนังสือดังกล่าวเป็นส่วนใหญ่ว่าบิดเบือนข้อเท็จจริงมาก และแม้ว่าจะมีการพิมพ์หนังสือเกี่ยวกับกรณีสวรรคตออกมามากเท่าใดก็ตาม ก็ยังไม่สามารถคลี่คลายเรื่องนี้ให้กระจ่างได้ว่าใครเป็นคนก่อคดีและอยู่เบื้องหลังกรณีสวรรคตตราบจนทุกวันนี้
ความเชื่อที่เล่าต่อๆ กันมาในเหตุการณ์การสวรรคต
ในตอนเช้าวันสวรรคต ระหว่างการชักธงชาติขึ้นสู่ยอดเสาที่หน้ากองทัพอากาศ ดอนเมือง ปรากฏว่า ผืนธงได้ถูกลมพัดร่วงหล่นลงพื้น และที่หน้ากระทรวงกลาโหม ธงก็ชักไปติดแค่ครึ่งเสา ชักต่อไม่ได้ ทั้งสองเหตุการณ์นี้เสมือนลางบอกเหตุร้าย
Subscribe to:
Posts (Atom)